ความหลากหลายทางภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งท่องเที่ยว ศาสนสถานและวัฒนธรรมชุมชน ในอุทยานธรณีโลกสตูล
นางรอเกี๊ยะ ตาเดอิน บ้านเลขที่ 78 หมู่ที่5 ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล มีความรู้ด้าน การทำเสวียนหม้อ ทำจากก้านจาก ไม่อ่อนหรือไม่แก่ จนเกินไป ซึ่งก้านจากเป็นวัสดุที่หาง่ายตามบริเวณพื้นที่บริเวณอำเภอท่าแพ แถวๆบริเวณปากแม่น้ำ หรือปากคลองที่มีน้ำเ
นางอรุณี เกาะกลาง อายุ 43 ปี บ้านเลขที่ 2/2 หมู่ที่ 4 บ้านวังตง ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล มีองค์ความรู้ด้านจักสานเป็นผลิตภัณฑ์จักสานจากต้นคลุ้ม เช่น ฝาชี ตะกร้า ตะกร้าหิ้ว ตะกร้าผ้า กระเป๋า แจกัน กระจาดผลไม้ โคมไฟ เป็นต้น นางอรุณี เกาะ
นายสุรินทร์ จันทรมโณ อายุ 57 ปี จบการศึกษาระดับ ปวส. วิทยาลัยเทคนิคสตูล (สาขาช่างก่อสร้าง) มีองค์ความรู้ด้านงานปั้นปูน (หิน,น้ำตก,สลักไม้,เสาไม้แกน,รูปสัตว์) เป็นงานทดแทนธรรมชาติแกะสลักไม้ ร้าน ส.งานปั้นละงูบ้านเลขที่ 200 หมู่ที่11 ตำบลกำแพง อำเภอ
นายจุมพล โขติสกุล อยู่บ้านเลขที่ 263 หมู่ที่ 2 ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล นายจุมพล โขติสกุล อายุ 66 ปี ช่างทำผ้าบาติกเขียนมือ ได้รับการยกย่องและคัดเลือกจากจังหวัดสตูลให้เป็นช่างศิลป์ด้านการเขียนผ้าบาติกด้วยมือ ผลิตผ้าบาติก ด้วยการสกัดสีจากดิ
นางนิตยา บุญเมือง บ้านเลขที่ 146/4 ถนนสตูลธานี ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล ภูมิลำเนา จ.กระบี่ และได้สมรสกับคน จ.สตูล จบการศึกษา สาขาศิลปศึกษา หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ประสบการณ์การสอนเป็นครูศิลปะ ระยะเวลา 2 ปี ณ โรงเรียนวิเ
นายยุทธพงษ์ อินตา ภูมิปัญญางานวาดภาพ : วาดภาพด้วยสีน้ำมันลงบนผ้าใบแกนวาก อยู่บ้านเลขที่ 85/5 หมู่ 10 ตำบล ทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล วาดภาพเหมือนโดยใช้สีน้ำมันลงบนกระดาษผ้าใบแกนวาก ทำมาประมาณ 20 ปี โดยอาศัยความชอบส่วนตัว ตัวอย่างผล
นายเกียรติยุธ คมขำ อายุ 44 ปี อยู่บ้านเลขที่ 69/2 หมู่ที่6 ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ภูมิปัญาด้านงานเหล็ก : นำเหล็กมาตีเป็นมีดและกริชงานแกะสลัก : ด้ามมีด ด้ามกริช จากไม้หมากพลูตั๊กแตน โดยแกะสลักไม้เป็นรูปต่างๆแกะสลักด้ามและปลอกมีดแล
นายสัน ม่าหมูด ภูมิปัญญาด้านงานศิลป์ทำเรือไม้จำลองขนาดเล็ก อายุ 74 ปี บ้านเลขที่ 52 หมู่ที่2 ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล ประดิษฐ์เรือจำลองขนาดเล็ก โดยใช้วัสดุชิ้นส่วนจากเศษไม้ที่เหลือจากการซ่อมเรือใหญ่ รูปแบบของเรือจำลอง เช่น เรือประมง
นายจำรูญ ตาเหยบ “กะลาบารา”อายุ 47 ปีบ้านเลขที่ 118 หมู่ที่2 ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล ภูมิปัญญาด้านผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าวจุดเริ่มต้นของแนวคิดสร้างสรรค์ในการนำกะลามะพร้าวซึ่งเป็นเศษวัสดุธรรมชาติท้องถิ่น มาประดิษฐ์เป็นเต่าตนุ เป็นของที่ระลึก
“เกาะตะรุเตา” เป็นเกาะใหญ่และสำคัญที่สุดในอุทยานแห่งชาติตะรุเตาซึ่งเป็นอุทยานแห่งชาติทางทะเลแห่งแรกของประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านประวัติศาสตร์และความสวยงาม ตั้งอยู่ในทะเลอันดามันบริเวณช่องแคบมะละกา มหาสมุทรอินเดีย ในท้องที่ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมือ
ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๐๐ มีมิชชันนารีมาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ที่จังหวัดสตูล แต่มาได้เพียงเขตพื้นที่ฉลุง ซึ่งเป็นชาวจีน ๒ ครอบครัว อพยพย้ายมาจากอินโดนีเซียมาอยู่ฉลุง จีนในพื้นที่กับพวกมิชชันนารี ไม่สัมพันธ์กัน การเผยแพร่ศาสนาคริสต์มาไม่ถึงในเมือง เมื่อมีคณะมิช
มัสยิดมำบัง ตั้งสง่าโดดเด่นด้วยหอคอยเป็นยอดโดมสูงสีทอง มัสยิดมำบังเป็นมัสยิดกลางตัวเมืองสตูล เป็นสถานที่ประกอบพิธีทางศาสนาเป็นศูนย์รวมในการปฏิบัติศาสนกิจของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดสตูล หอคอย หรือหออาซาน ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของมัสยิด ซึ่งแต่เดิมไว้ใช้ตะ
ลักษณะเด่นของแหล่ง : เป็นปราสาทหินปูน มีความสวยงามแปลกตา และหลุมยุบที่เกิดจากน้ำฝนกัดกร่อน และทะเลกัดเซาะตั้งแต่หลายล้านปี
เขาโต๊ะหงายเป็นภูเขาลูกโดดๆ มีขนาดพื้นที่ประมาณ 600×300 ตารางเมตร ด้านเหนือจรดพื้นที่ราบ ส่วนด้านใต้เป็นผาชันยื่นออกไปในทะเล ด้านตะวันออกเฉียงเหนือเป็นอ่าวหาดทรายโค้งเว้าเข้าไปในแผ่นดินและเป็นที่ตั้งที่ทำการอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา ด้านตะวันตก ด้