สตูลดินแดนแห่งมหายุคพาลีโอโซอิก


อีกหนึ่งการค้นพบสำคัญที่ทำให้อุทยานธรณีสตูลก้าวขึ้นสู่อุทยานธรณีโลกก็คือ การค้นพบฟอสซิลของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ใน “มหายุคพาลีโอโซอิก” ซึ่งแบ่งออกเป็น ๖ ยุค ได้แก่ แคมเบรียน ออร์โดวิเชียน ไซรูเลียน ดีโวเนียน คาร์บอนิเฟอรัส และเพอร์เมียน แผ่นดินอุทยานธร

อุทยานธรณีโลกสตูล : ความรุ่มรวยทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตผู้คน


อุทยานธรณีโลกสตูล (Satun UNESCO Global Geopark) คือพื้นที่มีความสำคัญทางธรณีวิทยา เป็นบันทึกหลักฐานของโลกใต้ทะเลเมื่อ ๕๕๐ ล้านปีก่อน ที่อุดมไปด้วยสิ่งมีชีวิตยุคเก่า เกิดเป็นแหล่งสร้างออกซิเจนให้กับโลกในช่วงเวลานั้น ต่อมาเปลือกโลกยกตัวขึ้น ก่อเกิดเป็

กลุ่มชาติพัันธุ์์ในจัังหวัดสตููลชาวมัันนิิ


ชาวมันนิเป็นชนกลุ่มชาติพันธุ์ทางภาคใต้ของไทยที่ดํารงชีวิตในป่าบริเวณเขาบรรทัดมาหลายชั่วอายุคน โดยวิถีดั้งเดิมของชาวมันนิเป็นสังคมเร่รออนหาของป่า ล่าสัตว์ พวกมันนิสร้างทับเป็นที่อยู่อาศัยชั่วคราว ณ จุดหนึ่งๆ ในป่าบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ เมื่ออาหาร

งานว่าวประเพณีจังหวัดสตูล


สำหรับจังหวัดสตูลแล้ว นอกจากเป็นจังหวัดที่โดดเด่นด้านธรรมชาติ ประเพณีวัฒนธรรมที่หลากหลายและที่โด่งดังและรู้จักทั่วนานาชาติ ก็คือ ‘งานว่าวประเพณีจังหวัดสตูล’ ที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี จัดมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ กล่าวคือ ‘งานว่าวประเพณีจังหวัดสตูล’

ว่าวควาย


ว่าวควาย เป็นว่าวชนิดหนึ่งที่ชาวสตูลนิยมเล่นกันมาก เล่นกันทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ส่วนใหญ่จะเป็นเพศชาย นิยมเล่นกันหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จ โดยเฉพาะในเดือน ธันวาคม-เมษายน ซึ่งเป็นช่วงฤดูร้อนของจังหวัดสตูล อากาศปลอดโปร่ง มีลมพัดแรงส่งว่าวให้ลอยขึ้นสูงสุด

ระบำว่าวควายสตูล : จากลีลาจุฬาเล่นลมสู่ท่วงท่าระบำว่าวควาย


ที่มาของระบำว่าว ใน ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ ทางจังหวัดสตูลได้เป็นเจ้าภาพในการแข่งขันว่าวนานาชาติโดยมีประเทศต่างๆ ที่มีอาณาเขตติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกฯลฯ ซึ่งได้จัดเป็นปีแรกโดยใช้ชื่องานว่าการแข่งขันว่าวนานาชาติครั้งที่ ๑ โรงเรียนสตูลวิทยาซึ่งเป็นที่ตั้งของศูนย์

บูสุ : การละเล่นหนึ่งเดียวของจังหวัดสตูล


“บูสุ” เป็นภาษามลายู แปลว่า “เหม็น”บูสุ อีกความหมายหนึ่ง คือ “สุดท้าย” เป็นการละเล่นพื้นเมืองชนิดหนึ่งของจังหวัดสตูล สมัยก่อนเด็กๆ ชอบเล่นกันมากเพราะเล่นได้หลายคน ยามว่าก็ชวนกันมาเล่นกัน ผู้เขียนจำได้ว่าในวัยเด็กผู้เขียนและเพื่อนๆ จับกลุ่มเล่น บูสุ

ดาระ : วิถีชีวิตของผู้คนในสังคมมุสลิม


การละเล่นพื้นบ้าน เป็นการเล่นที่สืบทอดกันมาแต่โบราณของทุกจังหวัด การเล่นเริ่มมาตั้งแต่กาลครั้งไหน คงไม่มีใครทราบได้ จะมีการละเล่นแสดงถึงเอกลักษณ์เฉพาะของชนชาติหรือท้องถิ่นนั้นๆ การละเล่นมีหลายอย่างต่างๆ กัน สะท้อนภาพของสังคมไทยในด้านต่างๆ เช่น สภาพค

บ้านศาลากันตง


บ้านศาลากันตง ชื่อชุมชนทีตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองสตูลเป็นท่าจอดเรือที่สร้างขึ้นสมัยพระยาอภัยนุราช (“พระยาอภัยนุราช”เป็นบรรดาศักดิ์และราชทินนาม ของตนกูบิสนู) ผู้ปกครองตำบลสโตย-ละงูคนแรก มาจากภาษามลายู ปังกาลันฆันตง (Pangkalan Gantung) แปลว่าท่าเรือ

กาเนะ


กาเนะ ชื่อหมู่บ้านตั้งอยู่ในตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูลกาเนะ (kaneh) แปลว่า ต้นชะมวงเป็นไม้ยืนต้นชนิดหนึ่ง

กาลันยีตัน


กาลันยีตัน ชื่อหมู่บ้านตั้งอยู่ในตำบลเจ๊ะบิลังอำเภอเมืองสตูลมาจากคำเดิมปังกาลันยีตัน (Pangkalan Jintan) แปลว่าท่าต้นยี่หร่า (ยินตันแปลว่าต้นยี่หร่า)

กาลันบาตู


กาลันบาตู ชื่อหมู่บ้านซึ่งพ้องกัน ๒ ที่ คือ ตั้งอยู่ในตำบลควนขัน อำเภอเมืองสตูล หมู่บ้านหนึ่ง และตั้งอยู่ที่หมู่ที่ ๑ ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูลอีกที่หนึ่ง กาลันบาตู มาจากคำว่า ปังกาลันบาตู (Pangkaland Batu) แปลว่าท่าหิน (ปังกาลัน แปลว่า ท่า ท่

กาแบง


กาแบง ชื่อหมู่บ้านตั้งอยู่ในตำบลแหลมสนอำเภอละงูมาจากภาษามลายู เฆอแบง (gebeng)รากศัพท์เดิม เป็นภาษาอังกฤษ cabin หมายถึงส่วนกลางของลำเรือ ตามตำนานเรือสำเภาล่ม ส่วนกลางของลำเรือลอยมาติดที่หมู่บ้านกาแบง

บ้านทุ่งบุหลัง


บ้านทุ่งบุหลัง ตั้งอยู่หมู่ ๕ บ้านทุ่งบุหลัง ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล บ้านทุ่งบุหลังสันนิษฐานว่า เป็นชื่อที่เรียกจากต้นไม้ชนิดหนึ่งซึ่งขึ้นอยู่มากในบริเวณนี้ คือ "ต้นบุหลัง" ชาวบ้านจึงเรียกชื่อ หมู่บ้านนี้ว่า "ทุ่งบุหลัง" มาถึงปัจจุ

บ้านทุ่งสะโบ๊ะ


บ้านทุ่งสะโบ๊ะ ชื่อหมู่บ้าน ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๒ ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ทุ่งสะโบ๊ะ มาจากภาษามลายู ปาดังเซอระโบ๊ะ (Padang Serbuk) แปลว่าทุ่งฝุ่น (ปาดังแปลว่าทุ่งส่วนคำเซอระโบ๊ะแปลว่าฝุ่น) จากคำบอกเล่าของผู้สูงอายุคนหนึ่งเล่าว่า บริเ

ตันหยงโป


ตันหยงโป เป็นทั้งชื่อบ้านและตำบล ขึ้นต่ออำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล พื้นที่เป็นแหลมทอดยาวออกไปในทะเล มีป่าชายเลนขึ้นอยู่รอบหมู่บ้าน ในส่วนพื้นที่บนแหลมมีไม้ยืนต้นชนิดหนึ่งขึ้นอยู่เป็นจำนวนมาก ชาวบ้านเรียกว่า "ต้นปาบ" มีลักษณะคล้ายต้นมะม่วง มีผลแบนๆ

ตันหยงกาโบย (Tanjung Gabus)


ตันหยงกาโบย (Tanjung Gabus) ชื่อหมู่บ้านตั้งอยู่หมู่ที่ ๒ ตำบลปูยูอำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล บ้านตันหยงกาโบยมีที่ตั้งบนแผ่นดิน มีลักษณะเป็นแหลมยื่นไปในทะเล ตันหยง (Tanjung) เป็นภาษามลายู แปลว่า แหลม ส่วนคำว่า “กาโบย” หมายถึง หอยแมลงภู่ หากเดินทางมา

บากันใหญ่


บากันใหญ่ เป็นชื่อหมู่บ้าน ตั้งอยู่หมู่ที่ ๒ ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมืองสตูล ที่มาของชื่อ จากคำบอกเล่าของชาวบ้านเมื่อก่อน คนที่มีอาชีพตัดไม้ทำฟืน ได้มาตัดไม้ที่นี่และได้สร้างที่พักอาศัยชั่วคราว นานเข้าก็สร้างบ้านอยู่ที่บากันใหญ่

ตันหยงกลิง


ตันหยงกลิง ชื่อหมู่บ้านตั้งอยู่หมู่ที่ ๓ ตำบลเกาะสาหร่ายอำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล ตันหยงกลิง แปลว่าแหลมพวกกะลิงหรือแขกกะลิง คำว่า ตันหยง (tanjung) แปลว่าแหลม คำว่า กลิง มาจาก Kalinga เป็นชาวอินเดียผิวคล้ำร่างเล็กถิ่นเดิมอยู่ที่แคว้น Kalinga ทางตอนใ

บากันเคย


บากันเคย เป็นชื่อหมู่บ้าน ตั้งอยู่หมู่ที่ ๓ ตำบลตันหยงโป อำเภอเมือง จังหวัดสตูล บ้าน”บากันเคย” ในอดีตเป็นพื้นที่ที่พัก ที่หลบฝน หลบพายุของชาวประมง พื้นที่ดังกล่าวกองทัพญี่ปุ่นเคยยกพลขึ้นบกสมัยสงครามโลกที่ ๒ ในการทำสงครามกับเมืองไทรบุรีในสมัยนั้น (ร

ตาลี่ไกล


ตาลี่ไกล เป็นชื่อหมู่บ้าน ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๓ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล “ตาลี่ไกล” เพี้ยนมาจากภาษามลายูออกเสียง ตาลี กายต์ (tali kait) ซึ่ง tali แปลว่าเชือก, ด้าย, สาย ส่วน kait แปลว่า เบ็ด, ตะขอ ดังนั้นตาลี่ไกล จึงแปลว่าเชือกเบ็ด หรือส

ท่าคลอง


ท่าคลอง เป็นชื่อหมู่บ้าน ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๔ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล กว่า ๒๐๐ ปีมาแล้ว มีชาวจีนรุ่นแรกๆ จากประเทศจีน ล่องเรือไปตามชายทะเลเข้าคลองมำบัง จนมาถึงบ้านจีน (ตำบลฉลุง) เห็นว่าทำเลที่นี่เหมาะแก่การเพาะปลูก ทำสวนทำไร่ จึงตั้งบ้านเรื

ท่าจีน


ท่าจีน เป็นชื่อหมู่บ้าน ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๒ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล กลุ่มคนชุดแรกที่เข้ามาอยู่ที่นี่คือ ชาวจีน คนจีนมาจากบ้านเขาจีน เพื่อประกอบอาชีพเกษตร พอมีทุนจึงย้ายไปที่ใหม่ ใกล้ๆ ลำคลองที่มีป่าชายเลนขึ้นหนาแน่น ประกอบอาชีพตัดไม้โกงกาง ส่งไปขาย

สุไหงมาตี


สุไหงมาตี ชื่อหมู่บ้านขึ้นต่อตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล มาจากชื่อคลองสายหนึ่งที่ตื้นเขิน สุ ไหง (Sungai) เป็นภาษามลายู แปลว่าแม่น้ำลำคลอง มาตี (mati) แปลว่าตาย สุไหง ดังนั้นสุไหงมาตี จึงแปลว่าคลองตาย หมู่บ้านนี้เดิมชื่อสุไหงมาตี สมัยรัฐนิยมจอมพล