“สารท” เป็นการทำบุญกลางปีของไทย ตรงกับวันสิ้นเดือน ๑๐ หรือวันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ซึ่งเป็นฤดูที่พืชพันธุ์ธัญชาติและผลไม้สุก ข้าวและต้นผลไม้ที่ปลูกไว้กำลังให้ผลเป็นครั้งแรกในฤดูนี้ ในภาคใต้มีประเพณีทำบุญวันสารทเดือนสิบ ถือเป็นงานบุญประเพณีที่สำคัญของช
สำหรับจังหวัดสตูลแล้ว นอกจากเป็นจังหวัดที่โดดเด่นด้านธรรมชาติ ประเพณีวัฒนธรรมที่หลากหลายและที่โด่งดังและรู้จักทั่วนานาชาติ ก็คือ ‘งานว่าวประเพณีจังหวัดสตูล’ ที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี จัดมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ กล่าวคือ ‘งานว่าวประเพณีจังหวัดสตูล’
ว่าวควาย เป็นว่าวชนิดหนึ่งที่ชาวสตูลนิยมเล่นกันมาก เล่นกันทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ส่วนใหญ่จะเป็นเพศชาย นิยมเล่นกันหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จ โดยเฉพาะในเดือน ธันวาคม-เมษายน ซึ่งเป็นช่วงฤดูร้อนของจังหวัดสตูล อากาศปลอดโปร่ง มีลมพัดแรงส่งว่าวให้ลอยขึ้นสูงสุด
ที่มาของระบำว่าว ใน ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ ทางจังหวัดสตูลได้เป็นเจ้าภาพในการแข่งขันว่าวนานาชาติโดยมีประเทศต่างๆ ที่มีอาณาเขตติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกฯลฯ ซึ่งได้จัดเป็นปีแรกโดยใช้ชื่องานว่าการแข่งขันว่าวนานาชาติครั้งที่ ๑ โรงเรียนสตูลวิทยาซึ่งเป็นที่ตั้งของศูนย์
“บูสุ” เป็นภาษามลายู แปลว่า “เหม็น”บูสุ อีกความหมายหนึ่ง คือ “สุดท้าย” เป็นการละเล่นพื้นเมืองชนิดหนึ่งของจังหวัดสตูล สมัยก่อนเด็กๆ ชอบเล่นกันมากเพราะเล่นได้หลายคน ยามว่าก็ชวนกันมาเล่นกัน ผู้เขียนจำได้ว่าในวัยเด็กผู้เขียนและเพื่อนๆ จับกลุ่มเล่น บูสุ
“ข้าวพันธุ์อัลฮัมดุลิลละห์” เป็นพันธุ์ข้าวที่ชาวไทยมุสลิมในจังหวัดสตูลนิยมปลูกและนิยมบริโภคมานาน ยาวนานมาตั้งแต่สมัยปู่ ย่า ตา ยาย ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ปี บอกเล่าต่อๆ กันมาว่า ชาวไทยมุสลิมบ้านโคกพิลา อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูลได้นำพันธุ์ข้าวอัลฮัมดุลิลละห
กล้วยไม้รองเท้านารีหรือ ในภาษาอังกฤษเรียกว่า Lady’s Slipper ได้ชื่อนี้จากลักษณะดอกที่ขอบปากงองุ้มเข้าหากันคล้ายหัวรองเท้าไม้ของชาวดัตช์ หนังสือพฤกษชาติเล่มแรกซึ่งออกโดยสมาคมพฤกษชาติแห่งประเทศไทยในความอุปถัมภ์ของกระทรวงเกษตราธิการ ๒๔๙๒ ใช้คำว่า“รอ
การแต่งกายของคนสตูลจะเป็นการผสมผสานของหลายชนชาติออกมาอย่างสวยงาม ซึ่งปัจจุบันชาวสตูลยังคงรักษา วัฒนธรรมการแต่งกายของสตรีขาวไทยพื้นเมือง ชาวไทยเชื้อสายมลายู และชาวไทยเชื้อสายจีน โดยปรับเปลี่ยนรายละเอียดให้เหมาะสมกับยุคสมัย ผสมผสานของหลายชนชาติออกมาอย
ชาวสตูลส่วนใหญ่รู้จักผ้าบาติก ในนามของชื่อผ้าปาเต๊ะ ที่ได้รับอิทธิพลมาจากอินโดนีเซีย มาเลเซีย เผยแพร่เข้าสู่สตูล ซึ่งอาจเป็นอิทธิพลทางการค้าและศาสนา บาติกทางตอนใต้ของประเทศไทยจะนิยมเขียนภาพดอกไม้ ใบไม้ ภาพสัตว์ และลวดลายเครือเถาต่างๆ มีลักษณะเฉพาะถิ
ดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้นว่าชาวสตูลส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ศาสนาพุทธและอื่นๆตามลำดับ มีสถานที่สำคัญทางศาสนาหลายแห่งทั้งวัดและมัสยิด ส่วนเรื่องภาษา ชาวสตูลมีมรดกทางวัฒนธรรมต้นภาษาที่มีลักษณะแตกต่างจากจังหวัดอื่นๆ สตูลจะมีภาษาถิ่นในสองลักษณะ คือ ภา
เนื่องจากสมัยธนบุรีเป็นช่วงระยะเวลาสั้น และเหตุการณ์ในช่วงนี้ เมืองนครศรีธรรมราช เมืองปัตตานี และเมืองไทรบุรีได้ตั้งตนเป็นอิสระภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชปราบคืนได้เพียงเมืองนครศรีธรรมราช ระยะนี้สตูลซึ่งเป็น