นางรอเกี๊ยะ ตาเดอิน บ้านเลขที่ 78 หมู่ที่5 ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล มีความรู้ด้าน การทำเสวียนหม้อ ทำจากก้านจาก ไม่อ่อนหรือไม่แก่ จนเกินไป ซึ่งก้านจากเป็นวัสดุที่หาง่ายตามบริเวณพื้นที่บริเวณอำเภอท่าแพ แถวๆบริเวณปากแม่น้ำ หรือปากคลองที่มีน้ำเ
นางประไพ เวชศักดิ์ อายุ 66 ปี บ้านเลขที่ 106 หมู่ที่9 ตำบลกำแพง อำเภอละงู จังหวัดสตูล มีองค์ความรู้การสานเสื่อเตย เป็นหัตกรรมพื้นบ้าน ที่เกิดจากภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ โดยนำเตยที่ขึ้นเองตามธรรมชาติมาใช้เป็นวัสดุในการสาน โดยเลือกเฉพาะใบเตยปาหนัน
นางอรุณี เกาะกลาง อายุ 43 ปี บ้านเลขที่ 2/2 หมู่ที่ 4 บ้านวังตง ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล มีองค์ความรู้ด้านจักสานเป็นผลิตภัณฑ์จักสานจากต้นคลุ้ม เช่น ฝาชี ตะกร้า ตะกร้าหิ้ว ตะกร้าผ้า กระเป๋า แจกัน กระจาดผลไม้ โคมไฟ เป็นต้น นางอรุณี เกาะ
นายสุรินทร์ จันทรมโณ อายุ 57 ปี จบการศึกษาระดับ ปวส. วิทยาลัยเทคนิคสตูล (สาขาช่างก่อสร้าง) มีองค์ความรู้ด้านงานปั้นปูน (หิน,น้ำตก,สลักไม้,เสาไม้แกน,รูปสัตว์) เป็นงานทดแทนธรรมชาติแกะสลักไม้ ร้าน ส.งานปั้นละงูบ้านเลขที่ 200 หมู่ที่11 ตำบลกำแพง อำเภอ
นายจุมพล โขติสกุล อยู่บ้านเลขที่ 263 หมู่ที่ 2 ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล นายจุมพล โขติสกุล อายุ 66 ปี ช่างทำผ้าบาติกเขียนมือ ได้รับการยกย่องและคัดเลือกจากจังหวัดสตูลให้เป็นช่างศิลป์ด้านการเขียนผ้าบาติกด้วยมือ ผลิตผ้าบาติก ด้วยการสกัดสีจากดิ
นายยุทธพงษ์ อินตา ภูมิปัญญางานวาดภาพ : วาดภาพด้วยสีน้ำมันลงบนผ้าใบแกนวาก อยู่บ้านเลขที่ 85/5 หมู่ 10 ตำบล ทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล วาดภาพเหมือนโดยใช้สีน้ำมันลงบนกระดาษผ้าใบแกนวาก ทำมาประมาณ 20 ปี โดยอาศัยความชอบส่วนตัว ตัวอย่างผล
นายเกียรติยุธ คมขำ อายุ 44 ปี อยู่บ้านเลขที่ 69/2 หมู่ที่6 ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ภูมิปัญาด้านงานเหล็ก : นำเหล็กมาตีเป็นมีดและกริชงานแกะสลัก : ด้ามมีด ด้ามกริช จากไม้หมากพลูตั๊กแตน โดยแกะสลักไม้เป็นรูปต่างๆแกะสลักด้ามและปลอกมีดแล
นายสัน ม่าหมูด ภูมิปัญญาด้านงานศิลป์ทำเรือไม้จำลองขนาดเล็ก อายุ 74 ปี บ้านเลขที่ 52 หมู่ที่2 ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล ประดิษฐ์เรือจำลองขนาดเล็ก โดยใช้วัสดุชิ้นส่วนจากเศษไม้ที่เหลือจากการซ่อมเรือใหญ่ รูปแบบของเรือจำลอง เช่น เรือประมง
นายจำรูญ ตาเหยบ “กะลาบารา”อายุ 47 ปีบ้านเลขที่ 118 หมู่ที่2 ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล ภูมิปัญญาด้านผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าวจุดเริ่มต้นของแนวคิดสร้างสรรค์ในการนำกะลามะพร้าวซึ่งเป็นเศษวัสดุธรรมชาติท้องถิ่น มาประดิษฐ์เป็นเต่าตนุ เป็นของที่ระลึก
นายสิวเจียง แซ่โกย เกิด ณ มณฑลฮกเกี้ยน อำเภอแหล่งหนา ประเทศจีน เป็นบุตรนายจ้ายหลำ นางหย่งตี้ แซ่โกย ได้สมรสกับภรรยาเชื้อสายจีน มีบุตรธิดา จำนวน๙คนนายสิวเจียง แซ่โกย ได้รับการศึกษาระดับประถมที่โรงเรียนประถมไคหมิงจนจบชั้นประถมปีที่ ๓ก็ย้ายไปศึกษาต่อโร
นายเจ๊ะอับดุลลาหลังปูเต๊ะ เกิดเมื่อวันที่ ๑๖ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๓ณ บ้านทำเนียบตำบลโกตาอำเภอละงูบิดาชื่อนายเจ๊ะมูฮำมัดสะอาดมารดาชื่อนางเจ๊ะรอมะห์นามสกุลเดิม หวันสู นายเจ๊ะอับดุลลาหลังปูเต๊ะได้ศึกษาภาษามลายูจนสำเร็จชั้นปีที่ ๓บริบูรณ์มีความรู้ด้านภาษามลายู
อำมาตย์เอกพระยาสมันตรัฐบุรินทร์มีชื่อเดิมว่า ตุ๋ย บินอับดุลลาห์ มีชื่อมุสลิมว่าหวันฮูเซ็นเป็นบุตรคนที่ ๑๒ของหลวงโกชาอิศหาก (เกิด ) กับนางเลี๊ยบซึ่งมีเชื้อสายจีน เกิดเมื่อวันที่๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๔๑๔ ที่ตำบลบางลำพูล่างอ.คลองสานจ.ธนบุรี นามสกุล "บินอับดุ
พระยาภูมินารถภักดี เดิมชื่อ กูเด็น บิน กูแมะ คำว่า “บิน” แปลว่า “เป็นบุตรชายของ” ตามประเพณีของมลายูนั้นไม่มีนามสกุลแต่จะบอกชื่อบิดาไว้เพื่อให้จำแนกบุคคลได้เท่านั้นพระยาภูมินารถภักดีหรือกูเด็น บิน กูแมะ เป็นบุตรคนที่ ๖ ของนายกูแมะกับนางเจ๊ะจิเกิดที่ต