กลุ่มชาติพัันธุ์์ในจัังหวัดสตููลชาวมัันนิิ
ชาวมันนิเป็นชนกลุ่มชาติพันธุ์ทางภาคใต้ของไทยที่ดํารงชีวิตในป่าบริเวณเขาบรรทัดมาหลายชั่วอายุคน โดยวิถีดั้งเดิมของชาวมันนิเป็นสังคมเร่รออนหาของป่า ล่าสัตว์ พวกมันนิสร้างทับเป็นที่อยู่อาศัยชั่วคราว ณ จุดหนึ่งๆ ในป่าบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ เมื่ออาหาร
จำปาดะ : ผลไม้อัตลักษณ์ประจำถิ่นสตูล
คนไทยรู้จักขนุนเป็นอย่างดี ส่วนจำปาดะนั้นมีคนอีกมากมายที่ไม่รู้จัก จำปาดะกับขนุนมีความใกล้ชิดกันทางพันธุกรรมทำให้มีการผสมข้ามพันธุ์หรือกลายพันธุ์เกิดเป็นจำปาดะขนุนซึ่งปัจจุบันพบที่จังหวัดสตูลและที่ตำบลเกาะยอ จังหวัดสงขลา อาจกล่าวได้ว่า ‘จำปาดะ’ เป
ข้าวพันธุ์อัลฮัมดุลิลละห์ : ผลผลิตที่พระผู้เป็นเจ้าประทาน
“ข้าวพันธุ์อัลฮัมดุลิลละห์” เป็นพันธุ์ข้าวที่ชาวไทยมุสลิมในจังหวัดสตูลนิยมปลูกและนิยมบริโภคมานาน ยาวนานมาตั้งแต่สมัยปู่ ย่า ตา ยาย ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ปี บอกเล่าต่อๆ กันมาว่า ชาวไทยมุสลิมบ้านโคกพิลา อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูลได้นำพันธุ์ข้าวอัลฮัมดุลิลละห
กล้วยไม้รองเท้านารีขาวสตูล : ความงดงามและบอบบางใต้ชะง่อนผา
กล้วยไม้รองเท้านารีหรือ ในภาษาอังกฤษเรียกว่า Lady’s Slipper ได้ชื่อนี้จากลักษณะดอกที่ขอบปากงองุ้มเข้าหากันคล้ายหัวรองเท้าไม้ของชาวดัตช์ หนังสือพฤกษชาติเล่มแรกซึ่งออกโดยสมาคมพฤกษชาติแห่งประเทศไทยในความอุปถัมภ์ของกระทรวงเกษตราธิการ ๒๔๙๒ ใช้คำว่า“รอ
คติความเชื่อ ค่านิยม
ชาวสตูลมีความเชื่อในเรื่องโชคลาภ เครื่องราง ของขลังและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ไม่แตกต่างจากจังหวัดอื่นในภาคใต้ จะเห็นได้ว่าบริเวณบ้านของชาวสตูลโดยเฉพาะที่นับถือศาสนาพุทธจะมีศาลพระภูมิเจ้าที่ ยกเว้นคนที่นับถือศาสนาอิสลาม ไม่มีพระ ศาสนาอิสลามไม่นิยมรู
ศาสนา ภาษา
ดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้นว่าชาวสตูลส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ศาสนาพุทธและอื่นๆตามลำดับ มีสถานที่สำคัญทางศาสนาหลายแห่งทั้งวัดและมัสยิด ส่วนเรื่องภาษา ชาวสตูลมีมรดกทางวัฒนธรรมต้นภาษาที่มีลักษณะแตกต่างจากจังหวัดอื่นๆ สตูลจะมีภาษาถิ่นในสองลักษณะ คือ ภา
วัฒนธรรมด้านอาหาร
การกินของชาวสตูลมีทั้งส่วนที่คล้ายกับจังหวัดอื่นและส่วนที่แตกต่าง ทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นอันสืบเนื่องมาจากสภาพทางภูมิศาสตร์และเกิดจากความเชื่อทางศาสนา ตลอดจนค่านิยมการกินของบุคคลในแต่ละท้องถิ่น ชาวสตูลนิยมอาหารเช้าเป็นกา
สตูล : สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยรัชกาลที่ ๑ ในสมัยรัชกาลที่ ๑ อังกฤษขอเช่าเกาะหมากจากพระยาไทรบุรี (ตนกูอับดุลละ โมกุลรัมซะ) เจ้าพระยาไทรบุรีๆ เกรงไทยจะลงไปปราบเช่นเดียวกับปัตตานี จึงตกลงให้อังกฤษเช่าเกาะหมากภายใต้เงื่อนไขว่าอังกฤษต้องส่งกำลังมาช่วยเมืองไทรบุรีในกรณีที่มีศั
สตูล : สมัยธนบุรี
เนื่องจากสมัยธนบุรีเป็นช่วงระยะเวลาสั้น และเหตุการณ์ในช่วงนี้ เมืองนครศรีธรรมราช เมืองปัตตานี และเมืองไทรบุรีได้ตั้งตนเป็นอิสระภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชปราบคืนได้เพียงเมืองนครศรีธรรมราช ระยะนี้สตูลซึ่งเป็น
สตูล : สมัยอยุธยา
ในสมัยอยุธยาปรากฏชื่อ “เมืองละงู” และ “เมืองไทรบุรี” ในตำนานเมืองนครศรีธรรมราชและตำนานพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช ในหนังสือบุดที่คัดลอกจากต้นฉบับเดิม ๙ ดังนั้นหัวเมืองที่ปรากฏในตำนานจึงมีอยู่ก่อนการคัดลอก ความในตำนานเมืองนครศรีธรรมราชกล่าวถึงพญาศรีธรรม