ศาลาการเปรียญหลังเก่าก่ออิฐถือปูน
ศาลาการเปรียญหลังเก่า หรือหอแจกโบราณ วัดคามวาสี บ้านโพน อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม เป็นอาคารโบราณที่เป็นศิลปะพื้นบ้าน เป็นอาคารทรงโรงชั้นเดียว ก่อผนังเตี้ยๆ รอบทุกด้าน ยกเว้นทางทิศตะวันตกที่ก่อผนังและทำเป็นช่องหน้าต่างแทน หอแจกหรือศาลาการเปรีย
ดอนปู่ตาผืนป่าวัฒนธรรมของชนเผ่าไทญ้อบ้านโพน

แต่ละหมู่บ้านในภาคอีสานจะนับถือผีประจำหมู่บ้านที่เรียกว่า “ผีปู่ตา” สำหรับชาวไทญ้อ ก็เช่นกัน นับถือผีประจำหมู่บ้านเสมือนกับเป็นหลักบ้านหลักเมืองที่คอยดูแลทุกข์สุขป้องกันภัยอันตรายต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นกับคนในห
ศาลาการเปรียญไม้เก่าแก่หลังใหญ่

ศาลาการเปรียญไม้เก่าแก่หลังใหม่ เป็นศาลาการเปรียญหลังที่สอง สร้างเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2527 เสร็จเมื่อ พ.ศ. 2529 มีขนาดกว้าง 14 เมตร ยาว 16 เมตร เสาเป็นคอนกรีต เสริมเหล็ก ห
สิมโบราณ
สิมโบราณ หรือ โบสถ์ ของวัดคามวาสี บ้านโพน อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม สร้างเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2510 และเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2515 โดยหลวงพ่อบล จันฒิโย เป็นผู้นำ ได้รับความร่วมมือจากประชาชนในหมู่บ้าน หมู่บ้านใก
ธรรมจักรในดินแดนสุวรรณภูมิที่มีกวางหมอบอยู่ 2 ข้าง
ธรรมจักรในดินแดนสุวรรณภูมิที่มีกวางหมอบอยู่ 2 ข้าง เป็นไม้แกะสลักอยู่ถัดขึ้นไปจากบานประตูไม้แกะสลักรูปเทวาทวารบาลจากประตูซุ้มทางเข้าอุโบสถ (สิม) วัดคามวาสี บ้านโพน อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม ยังมีสัญลักษณ์ทางศาสนาของธรรม
เฮือนไทญ้อ

เฮือนไทญ้อ ตั้งอยู่ภายในพื้นที่วัดคามวาสี บ้านโพน อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม เฮือนไทญ้อ สร้างขึ้นด้วยการจำลองโดยถอดแบบและขนาดจริงของรูปลักษณะการสร้างบ้านของชาวไทญ้อบ้านโพน ทุกประการ เฉือนไทญ้อ เป็นเรือ
หอระฆังโบราณ

หอระฆัง ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดคามวาสี เป็นอาคารยกสูง 2 ชั้น ลักษณะก่อสร้างตัวอาคาร ด้วยโครงสร้างและองค์ประกอบเป็นไม้ทั้งหลัง มีไม้พาดเป็นขื่อสำหรับแขวนระฆังมีความโปร่งโล่ง เพราะไม่ได้ก่อฝาผนังทึบตัน
วัดคามวาสี

วัดบ้านโพนมีชื่อทางการว่า “วัดคามสี” เป็นวัดมหานิกายที่อยู่ในเขตปกครองของคณะสงฆ์ ตำบลโนนตาล อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม ภาคการศึกษา 10 ตั้งอยู่ในเนื้อที่ประมาณ 6 ไร่ ได้รับอนุญาตให้ตั้งเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2434
พิพิธภัณฑ์พระพุทธรูปและโบราณวัตถุวัดคามวาสี บ้านโพน
พิพิธภัณฑ์พระพุทธรูปและโบราณวัตถุวัดคามวาสี บ้านโพน ตั้งอยู่ภายในพิพิธภัณฑ์ ศูนย์วัฒนธรรมไทญ้อวัดคามวาสี บ้านโพน (พิพิธภัณฑ์หมู่บ้านวัฒนธรรมชนเผ่าไทญ้อ ซึ่งเป็น 1 ใน 10 พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในแผ่นดินอีสา