ขนมตาวัวตาควาย ไทครั่ง
ขนมหวานพื้นบ้าน "ตาวัวตาควาย" บ้านโคก ด้วยความเป็นชีวิตวิถีท้องทุ่งที่ทำนามีความผูกพันกับวัวควายเป็นที่ส่วนสำคัญในการทำไร่ไถนา บรรพบุรุษจึงคิดค้นขนมพื้นบ้านที่รสชาติอร่อยจากวัตถุดิบ และยังตั้งชื่อขนมให้สะท้อนความผูกพ
ประเพณีลอยกระทงสวรรค์
ประเพณีลอยกระทงสวรรค์ 12 นักษัตร ณ วัดเขาพระศรีสรรเพชญาราม
ประเพณีลอยกระทงประจำปี ณ วัดเขาพระศรีสรรเพชญาราม เป็นการสืบสานประเพณีท้องถิ่นของชุมชน การลอยกระทงสวรรค์เป็นความเชื่อในการบูชาพระแม่คงคาและ
พิธีบายศรีสู่ขวัญไทยพวน

พิธีบายศรีสู่ขวัญ เป็นประเพณีอย่างหนึ่งของคนไทยและคนลาว บางครั้งก็เรียกว่า พิธีบายศรี, พิธีสู่ขวัญ, พิธีทำขวัญ, พิธีรับขวัญ ด้วยความเชื่อที่ว่าทุกคนเกิดมาพร้อมกับสิ่งนามธรรมอย่างหนึ่งที่เรียกกันว่า “ขวัญ” ซึ่งมีหน
การแต่งกายแบบลาวเวียง
ชาวลาวเวียง ที่มีอัตลักษณ์การแต่งกายและผ้าทอที่โดดเด่น อัตลักษณ์ของทอคือการต่อตีนซิ่นด้วย ฝ้ายหรือไหม ตีนซิ่นตอนบนตกแต่งด้วยการจกลวดลาย และเว้นตีนซิ่นตอนล่างเป็นผืนผ้า อัตลักษณ์ของลายผ้าส่วนใหญ่จะมาจากสิ่งของใกล้ตัวที่ใช้ในวิถีชีวิตหรือว
สานตะกร้าบุญ บ้านเขาพระ
งานหัตถกรรมที่มีความสำคัญอย่างมากของชุมชนพวนบ้านเขาพระ เป็นตะกร้าเอกลักษณ์ของคนไทพวนที่สานขึ้นจากไม้ไผ่ มีขนาดใหญ่ประมาณ 1-2 เมตร ด้านล่างมีคานไม่ไผ่สอด 2 คานเพื่อใช้หามเครื่องสังฆทานไปวัดเพื่อทำบุญ “ตะกร้าตากะแหลว” จะบรรจุเครื
การแต่งกายแบบไทยพวน
เครื่องแต่งกายของชาวไทพวน ผู้ชายจะนุ่งกางเกงขาก๊วย สวมเสื้อม่อฮ่อม มีผ้าขาวม้าคาดเอว ส่วนผู้หญิง สวมเสื้อผ้าฝ้ายคอกลมแขนกระบอก ตัด 5 ตะเข็บ นุ่งซิ่น (ทอหรือมัดหมี่) ที่ชายซิ่นจะต่อตีนซิ่นสวยงาม
การแต่งกายแบบลาวครั่ง
ลวดลาย "ผ้าตีนจก” ของผ้าทอลาวครั่งที่โดดเด่นและพบมากคือ "ลายนาค” มีทั้ง พญานาคขนาดใหญ่ นาคขนาดกลาง และนาคขนาดเล็ก ทั้งยังมีการสร้างสรรค์ลายละเอียดลวดลายส่วนหัวนาคต่างๆกันอย่างงดงาม เราสามารถสันนิษฐานได้ว่าลวดลาย "นาค” นี้มี
กะหมวง หรือ หมวง
เครื่องจักสานไทยทรงดำ กะหมวง หรือ หมวง ภาชนะจักสานไว้ใส่ปลาที่จับในท้องนา
พัดโบก(เครื่องจักสานไทยทรงดำ )
เครื่องจักสานไทยทรงดำ พัดโบก คือ งานจักสานที่ชาวไทยทรงดําทําขึ้นเพื่อช่วยในการพัดโบกให้เย็นสบาย ไล่แมลง หรือพัด โบกเพื่อหุงต้มให้ไฟติดไว
ก่องข้าวหรือแอบข้าว
เครื่องจักสานไทยทรงดำ เป็นภาชนะที่สานด้วยไม้ไผ่รูปทรงเหมือนตุ่มคอสูง มีฝาสวมครอบ มีฐานสี่เหลี่ยม มี สายสะพายสานแบบลายฟองดีหล่ม ใช้สําหรับใส่ข้าวเหนียวที่นึ่งแล้ว ไว้สําหรับใส่อาหารหิ้วไปรับประทาน เวลาออก
ขมุก
เครื่องจักสานไทยทรงดำ ภาชนะไม้สาน มีฝาปิด ประโยชน์ใช้สอยคือ สําหรับเก็บผ้าที่ทอเสร็จแล้ว จะเป็นผ้าผืนหรือเป็นผ้าส่วนตัว ขมุกเก็บไว้บน เพดานบ้านโดยไม้ไผ่พาดขื่อบ้าน
กะเหล็บ
เครื่องจักสานไทยทรงดำ กะเหล็บ เป็นภาชนะสานทึบคล้ายกระบุงแต่รูปค่อนข้างแบนทรงสูงกว่า พื้นก้นเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สะพายติดหลังใส่สิ่งของอเนกประสงค์ กะเหล็บเป็นของใช้ที่สำคัญของชาวโซ่งหรือลาวโซ่งหรือไทยทรงดำในสมัยก่อนพวกโซ่งซึ่งอยู
การแต่งกายไทยทรงดำ

การแต่งกายไทยทรงดำ เน้นด้วยผ้าสีดำหรือสีกรมท่า โดยแบ่งออกเป็นของผู้ชายและผู้หญิง การแต่งกายผู้ชาย คือ ใส่เสื้อไท ติดกระดุมเงินตั้งแต่ 11 เม็ดขึ้นไป สวมซ่วงก้อม (กางเกงขาสั้น) คาดด้วยสายคาดเอว ใส่เสื้อฮีชายในชุดพิธี
กระเบื้องมุงหลังคาแบบลอน
กระเบื้องมุงหลังคาแบบลอน พบในบริเวณเมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จัดแสดง ณ ห้องอู่ทองศรีทวารวดี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง กระเบื้องดินเผาทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าโค้งงอเล็กน้อย ขนาดกว้างประมาณ ๗ เซนติเมตร ยาวประมา
พระพุทธรูปหิน
ศิลปะทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง
ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง
ชิ้นส่วนดินเผารูปสิงห์
ศิลปะทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอ
ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง
เศียรพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร
ศิลปะศรีวิชัย สมัยประมาณพุทธศตวรรษที่ 14 - 15 (หรือราว 1,100 - 1,200 ปีมาแล้ว) ทำจากสำริดพระพักตร์ค่อนข้างกลม พระเนตรเหลือบต่ำ พระกรรณยาว ทรงชฎามงกุฎคือพระเกศาเกล้าเป็นมวยสูง แสดงความเป็นนักบวช มีพระพุทธเจ้าอมิตาภะประดิษฐา
ต้นโพธิ์ดินเผา
ต้นโพธิ์บนฐานบัวคว่ำบัวหงายมีลายกลีบบัว ลำต้นมีลวดลายเม็ดประคำคาดประดับ ทำเป็นกิ่งและมีใบโพธิ์ห้อย
ศิลปะทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง
ที่จัดแสด
ธรรมจักรและกวางหมอบ
ธรรมจักรและกวางหมอบเป็นสัญลักษณ์สำคัญทางพุทธศาสนา หมายถึงการแสดงปฐมเทศนาหรือการประกาศพระธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยการหมุนกงล้อมแห่งธรรมให้เคลื่อไปในวัฒนธรรมทวาราวดีนิยมสร้างธรรมจักร และกวางหมอบ ส่วนหัวกวาง มีหู เข
ประติมากรรมดินเผารูปคชลักษมี
คชลักษมีเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความมีโชคลาภและความอุดมสมบูรณ์ มีที่มาจากคติการบูชาเพศหญิงซึ่งเป็นเพศผู้ให้กำเนิด ส่วนช้างเป็นสัตว์มงคลและเป็นสัญลักษณ์ของเมฆฝน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้พืชพันธุ์เจริญงอกงาม คชลักษมีจึงเป็นสัญลักษณ์มงคลที
แผ่นดินอิฐจำหลักรูปมกร
แผ่นอิฐจำหลักรูปมกร พบจากเจดีย์หมายเลข ๓ เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จัดแสดง ณ ห้องอู่ทองศรีทวารวดี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง แผ่นอิฐรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง ๑๖ เซนติเมตร ยาว ๒๒ เซนติเมตร หนา ๗.๕ เซนติเมตร ด้านห