ศิลปะทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง
ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง
ศิลปะทวารวดีประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 หรือราว 1,400 ปีมาแล้ว ลักษณะพระพุทธรูปปางปฐมเทศนาแผ่นสลักหินนูนสูงภาพพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิ พระหัตถ์ทั้งสองข้างขวาทับซ้ายบนพระเพลา ด้านล่างตรงกึ่งกลางสลักเป็นภาพวงธรรมจักร มีรูปกวางหมอบด้านข้าง หมายถ
จารึกปุษยคีรี : ชื่อภูเขาศักดิ์สิทธ์แห่งเมืองอู่ทองศิลาจารึกปุษยคีรี (หนังสือจารึกในประเทศไทย เล่มที่ ๑ เรียกว่า จารึกเขาปุมยะคีรี เลขทะเบียน รบ.๓) พบบริเวณเมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จารึก ๑ ด้าน ๑ บรรทัด ด้วยอักษรหลังปัล
ลูกปัดอู่ทอง เป็นลูกปัดเก่าแก่ที่ถูกค้นพบในเมืองโบราณอู่ทองและปริมณฑลราว 20-30 กิโลเมตร มีการสืบเนื่องต่อกันมาอย่างน้อย 3 ยุค คือ ยุคเหล็ก ฟูนัน และทวารวดี กินระยะเวลาประมาณ 1,500 - 2,000 ปี ตั้งแต่ต้นพุทธกาลเมื่อประมาณ 2,500 ปีที่แล้ว
ประติมากรรมดินเผารูปสตรี ประดับศาสนสถานสมัยทวารวดี สูงประมาณ ๒๖ เซนติเมตรศิลปะทวารวดี ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ – ๑๔ (ประมาณ ๑,๒๐๐ – ๑,๓๐๐ ปีมาแล้ว พบที่เมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรีปัจจุบันจัดแสดง ณ ห้องอู่ทองศรีทวารวดี พิพิธภัณฑสถาน
ศิลปะทวารวดีประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 - 14 หรือราว 1,200 – 1,300 ปีมาแล้ว ลักษณะพระพิมพ์ดินเผาปางสมาธิเป็นแผ่นพระพิมพ์ปางสมาธิ ประทับนั่งขับสมาธิราบ พระหัตถ์ทั้งคู่วางซ้อนขวาทับซ้ายบนพระเพลา ครองจีวรห่มเฉียง ปรากฎชายผ้าด้านหน้าพระเพลา พระพุ
ตราดินเผารูปสัญลักษณ์ทางศาสนาประกอบอักษรโบราณ พบที่เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จัดแสดง ณ ห้องบรรพชนคนอู่ทอง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตราดินเผา คือ โบราณวัตถุที่มีรูปรอยนูนขึ้นจากพื้นผิวในลักษณะนูนต่ำ เป็นรอยถูกประทั
ศิลปะทวารวดีกำหนดอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๔ (ประมาณ ๑,๒๐๐ – ๑,๓๐๐ ปีมาแล้ว) ปัจจุบันจัดแสดง ณ ห้องบรรพชนคนอู่ทอง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ประติมากรรมสำริดรูปสิงห์ ชิ้นนี้ พบจากเจดีย์หมายเลข ๑๓ เมืองโบราณอู่ทอง เป็นประติมากรรมขนาดเล็
ศิลปะทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 – 14 หรือราว 1,200 – 1,400 ปีมาแล้ว ลักษณะปูนปั้นพระพุทธรูปยืนยกพระหัตถ์ทั้งสองข้างขึ้นในท่าแสดงธรรม โดยพระอังคุตนิ้วหิวแม่มือและนิ้วชี้จรดกันเป็นวงกลมปางเสด็จลงจากดาวดึงส์ ซึ่งหมายถึงเหตุกา