พระพุทธรูปยืนตริภังค์ปางแสดงธรรม
พระพุทธรูปยืนตริภังค์ปางแสดงธรรม พบจากเจดีย์หมายเลข ๓ เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จัดแสดง ณ ห้องบรรพชนคนอู่ทอง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง พระพุทธรูปยืนปางแสดงธรรม อุษณีษะเป็นกะเปาะสูง เม็ดพระศกใหญ่ พระพักตร์รูปไข่ พร
ยอดเจดีย์จำลองสำริด
ยอดเจดีย์จำลอง ทำด้วยสำริด จำนวน ๒ ชิ้น พบจากเจดีย์หมายเลข ๑๓ เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จัดแสดง ณ ห้องอู่ทองศรีทวารวดี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ยอดเจดีย์จำลอง ชิ้นที่ ๑ ประกอบด้วยปลียอดทรงกรวย ตกแต่งด้วยลวดบัวเป็นสัน
แผ่นดินอิฐประทับรูปรอยเท้าคน
แผ่นอิฐมีรอยประทับรูปฝ่าเท้าของคน สมัยทวารวดี จัดแสดง ณ อาคารจัดแสดง ๒ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง
แผ่นอิฐทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า เนื้ออิฐมีรูพรุน เห็นร่องรอยแกลบข้าวในเนื้ออิฐอย่างชัดเจน บนผิวหน้าอิฐมีรอยประทับรูปฝ่าเท้าด้านขว
เศียรพระพุทธรูปดินเผา
ศิลปะทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอ
ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง
พระพิมพ์ดินเผาภาพพระพุทธรูปปางแสดงธรรม
พระพิมพ์ดินเผาภาพพระพุทธรูปปางแสดงธรรม จำนวน ๒ ชิ้น พบจากเจดีย์หมายเลข ๒๑ เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จัดแสดง ณ ห้องอู่ทองศรีทวารวดี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง พระพิมพ์ดินเผา ชิ้นที่ ๑ กว้าง ๖.๕ เซนติเมตร ยาว ๖.๗ เซนต
ตุ้มหูทองคำ
ตุ้มหูทองคำ พบบริเวณริมสระน้ำภายในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๕๓ จัดแสดงห้องบรรพชนคนอู่ทอง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตุ้มหู มีลักษณะเป็นห่วงกลม ส่วนบนเรียวเล็ก ส่วนล่างใหญ่และหนา สา
แม่พิมพ์ดินเผาภาพพระพุทธรูปปางสมาธิ
แม่พิมพ์ดินเผาภาพพระพุทธรูปปางสมาธิแวดล้อมด้วยเครื่องสูง สมัยทวารวดีจัดแสดง ณ ห้องอู่ทองศรีทวารวดี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทองแม่พิมพ์ดินเผา ขนาดกว้าง ๙ เซนติเมตร สูงประมาณ ๑๑ เซนติเมตร เป็นภาพพระพุทธรูปปางสมาธิที่เว้าลึกลงไป สำหรับสร้าง
ประติมากรรมดินเผารูปสิงห์
ประติมากรรมประดับฝาภาชนะสมัยทวารวดี ประติมากรรมดินเผารูปสิงห์ ขนาดกว้าง ๘ เซนติเมตร สูง ๘.๓ เซนติเมตร สิงห์มีใบหน้ากลม มีคิ้วเป็นสันนูนต่อกันคล้ายปีกกา ดวงตากลมโต จมูกใหญ่ อ้าปากแยกเขี้ยวยิงฟัน มีแผงคอเป็นเม็ดกลมเรียงกันเป็นรูปสามเหลี่
แม่พิมพ์เครื่องประดับสมัยทวารวดี
แม่พิมพ์เครื่องประดับ พบบริเวณเมืองโบราณอู่ทอง จัดแสดง ณ ห้องอู่ทองศรีทวารวดี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง แม่พิมพ์ เป็นแผ่นหินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มุมล่างซ้ายชำรุดหักหายไป บนผิวหน้าแกะลึกลงไปในเนื้อหินเป็นรูปตุ้มหูแบบห่วงกลม ๒ พิมพ์ เรีย
พระพุทธรูปสำริดปางแสดงธรรม
พระพุทธรูปสำริดปางแสดงธรรม พบจากโบราณสถานหมายเลข ๑๔ (บ้านศรีสรรเพชญ์ ๓) เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จัดแสดง ณ อาคารจัดแสดง ๒ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง พระพุทธรูปนั่ง หน้าตักกว้าง ๑๕ เซนติเมตร สูง ๒๒ เซนติเมตร พระรัศมีเป็
ตะคันดินเผา
ศิลปะทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง
ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง
เครื่องมือเครื่องใช้
ศิลปะทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง
ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง
อิฐฤกษ์
อิฐมีเนื้อละเอียด มีการขัดผิวบริเวณด้านหน้าและด้านข้างทำให้ผิวเรียบ ด้านหลังมีผิวหยาบปรากฏร่องรอยแกลบข้าวในเนื้ออิฐ ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของอิฐในสมัยทวารวดี ด้านหน้าของแผ่นอิฐปิดทองคำเปลวเป็นแถบรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีบางส่วนชำรุดหลุดร่อนออกเ
ปูนปั้นรูปสิงห์
ศิลปะทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง
ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง
เครื่องราง
ศิลปะทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง
ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง
แวดินเผา
ศิลปะทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง
ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง
ปูนปั้นรูปคนแคระ
ศิลปะทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง
ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง
ปูนปั้นรูปนาค
ประติมากรรมรูปนาคซึ่งสันนิษฐานว่ามีอายุเก่าแก่ที่สุด ที่สร้างขึ้นในท้องถิ่น มิได้เป็นการนำเข้ามาจากภายนอก เนื่องจากเป็นประติมากรรมปูนปั้นซึ่งสร้างขึ้นเพื่อใช้ประดับติดเข้ากับผนังของศาสนสถาน ได้แก่ ชิ้นส่วนปูนปั้นรูปขนดนาคที่ฐานพร
ลูกเต๋า ทำจากดินเผาและงาช้าง
บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ได้มีการขุดพบลูกเต๋าโบราณทำจากดินเผา กระดูกสัตว์ และงาช้างมีรูปทรง ๒ ลักษณะ ได้แก่ ลูกเต๋าทรงลูกบาศก์ (สี่เหลี่ยมจัตุรัส) ที่มีลักษณะเช่นเดียวกับลูกเต๋าในปัจจุบัน คือ เป็นลูกเต๋าที่มี ๖ ด้าน แต่ละ
แผ่นดินเผารูปหน้าต่างจำลอง(กุฑุ)
ศิลปะทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง เครื่องประดับส่วนยอดของอาคารที่ต่อกันขึ้นไปหลายชั้น ลักษณะเป็นการจำลองว่าอาคารนั้นมีหลายชั้น โดยจำลองหน้าต่างทรงโค้งรูปเกือกม้าภายมีใ
เศียรเทวดาปูนปั้น
ศิลปะทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง
ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง
ยอดเจดีย์ปูนปั้น
ศิลปะทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง
ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง
ครุฑปูนปั้น
ศิลปะทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง
ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง
เศียรยักษ์ปูนปั้น
ศิลปะทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง
ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง
กระเบื้องและเครื่องประดับสถูป
ศิลปะทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง
ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง
ตุ้มหูสำริดและตะกั่ว
ตุ้มหูสำริดและตะกั่ว จัดแสดงอยู่ที่ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติอู่ทอง สุพรรณบุรี เป็นตุ้มหูสำริดและตะกั่วมีทั้งแบบที่มีลักษณะเป็นเส้นกลมคล้ายลวดขนาดใหญ่ขดเป็นวง แบบที่ขดเป็นวงแต่มีลักษณะแบน และในรูปทรงกระบอก มีการตกแต่งลวดลายเพื่อความสวยงาม เป
เครื่องประดับโบราณ ตุ้มหูแบบลิงลิงโอ
เครื่องประดับมีปุ่ม 3 ปุ่ม ทำจากหินหยก หรือ เนฟไฟรต์ (Nephrite) ซึ่งเป็นหินกึ่งรัตนชาติ ต่างหูแบบนี้เรียกกันว่า “ลิง-ลิง-โอ” ภาษาอังกฤษเขียน “Ling-Ling-O” ตุ้มหูลิง-ลิง-โอ เป็นเครื่องประดับของคนสมัยก่อนประวัติศาสตร์เมื่อประมาณ 20
พระพุทธรูปปางปฐมเทศนา
ศิลปะทวารวดีประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 หรือราว 1,400 ปีมาแล้ว ลักษณะพระพุทธรูปปางปฐมเทศนาแผ่นสลักหินนูนสูงภาพพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิ พระหัตถ์ทั้งสองข้างขวาทับซ้ายบนพระเพลา ด้านล่างตรงกึ่งกลางสลักเป็นภาพวงธรรมจักร มีรูปกวางหมอบด้านข้าง หมายถ
แผ่นกินเผารูปนรสิงห์
แผ่นดินเผาทรงสี่เหลี่ยม มีเสาทรงกลมเป็นกรอบทั้งสองข้าง ตรงกลางมีรูปบุคคลมีศีรษะเป็นสิงห์ หรือ รูปนรสิงห์ มีแผงคอ ตาโปน จมูกใหญ่ แยกเขี้ยวยิงฟัน ส่วนลำตัวเป็นรูปบุคคลอยู่ในท่านั่งชันเข่าบนฐานสี่เหลี่ยม แยกขา มือทั้งสองข้างยกขึ
ประติมากรรมปูนปั้นรูปสิงห์
ประติมากรรมปูนปั้นรูปสิงห์ สภาพชำรุดเหลือเพียงส่วนใบหน้า มีตาโปน คิ้วหยักเป็นเส้นต่อกัน จมูกใหญ่ อ้าปากกว้าง แลบลิ้น มีร่องรอยของการปั้นแผงคอรอบใบหน้า ประติมากรรมชิ้นนี้น่าจะใช้สำหรับประดับส่วนฐานของศาสนสถาน เนื่องจากพบว่าส่วนฐานของโบราณส
ศิลาจารึกปุษยคีรี
จารึกปุษยคีรี : ชื่อภูเขาศักดิ์สิทธ์แห่งเมืองอู่ทองศิลาจารึกปุษยคีรี (หนังสือจารึกในประเทศไทย เล่มที่ ๑ เรียกว่า จารึกเขาปุมยะคีรี เลขทะเบียน รบ.๓) พบบริเวณเมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จารึก ๑ ด้าน ๑ บรรทัด ด้วยอักษรหลังปัล
ลูกปัดแก้ว
ลูกปัดอู่ทอง เป็นลูกปัดเก่าแก่ที่ถูกค้นพบในเมืองโบราณอู่ทองและปริมณฑลราว 20-30 กิโลเมตร มีการสืบเนื่องต่อกันมาอย่างน้อย 3 ยุค คือ ยุคเหล็ก ฟูนัน และทวารวดี กินระยะเวลาประมาณ 1,500 - 2,000 ปี ตั้งแต่ต้นพุทธกาลเมื่อประมาณ 2,500 ปี
ลูกปัดโบราณหินสควอตช์
ลูกปัดอู่ทอง เป็นลูกปัดเก่าแก่ที่ถูกค้นพบในเมืองโบราณอู่ทองและปริมณฑลราว 20-30 กิโลเมตร มีการสืบเนื่องต่อกันมาอย่างน้อย 3 ยุค คือ ยุคเหล็ก ฟูนัน และทวารวดี กินระยะเวลาประมาณ 1,500 - 2,000 ปี ตั้งแต่ต้นพุทธกาลเมื่อประมาณ