[{"museum_code":"01","museum_name":"พิพิธภัณฑ์ไทลื้อ ศูนย์การเรียนรู้บ้านใบบุญ","description":"ศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญาไทยไตลื้อบ้านใบบุญ จัดตั้งขึ้นเพื่อเชิดชู และยกย่องบุพการีผู้ให้ทั้งชีวิต และจิตวิญญาณ ตลอดจนที่อยู่อาศัยในปัจจุบัน รวมถึงเผยแพร่และแบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ของลูกหลาน ญาติมิตร และเพื่อนบ้านใกล้เคียงของบ้านใบบุญที่สั่งสมบ่มเพาะมาจากบรรพชน ด้วยการสืบเสาะแสวงหาจนนำมาประยุกต์สร้างสรรค์ รวมถึงแหล่งเรียนรู้อีกแห่งหนึ่งของบ้านไตลื้อ หมู่4 ตำบลลวงเหนือ ที่เน้นความเป็นชาติพันธุ์ไตลื้อในล้านนาไทย โดยเยาวชน และบุคคลทั่วไปสามารถเข้ามาศึกษาเรียนรู้ได้ และเพื่อเป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อบรรพชนและท้องถิ่นอันเป็นบ้านเกิดเมืองนอน ตลอดจนสร้างความภาคภูมิใจแก่พ่อแม่ ครูบาอาจารย์ ญาติพี่น้อง และเพื่อนบ้านผู้เต็มเปี่ยมไปด้วยภูมิปัญญา","open_date":"เปิดทำการ วันอังคาร - วันอาทิตย์\r\nเวลา 09.00 น. - 17.00 น.","latitude":"18.8798","longitude":"99.122","address":"","tambon":"บ้านลวงเหนือ","ampher":"ดอยสะเก็ด","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"50000","tel":"053-0000000 ","email":"mail@gmail.com","website":" https:\/\/www.navanurak.in.th\/thailue","bg_path":"thailue","bg_lang":"th","pic":"78567171914886206_668720116628346_696901188_n.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/thailue\/pic\/big\/78567171914886206_668720116628346_696901188_n.jpg","bg_picshow":"0","bg_watermark":"watermark.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-23 02:56:15"},{"museum_code":"02","museum_name":"พิพิธภัณฑ์วัดเกตุการาม","description":"ข้าวของที่จัดแสดงส่วนมากเป็นของที่บริจาคมาเพิ่มเติมในระหว่างที่มีการก่อตั้ง ส่วนแรก เป็นโถงกว้างที่ไม่ได้มีการจัดแบ่งเป็นส่วนด้วยผนังใด ๆ แต่กลุ่มของวัตถุสื่อถึงประเภทของวัตถุ ดังนั้น พื้นที่จึงแตกต่างกันไปโดยปริยาย ทางขวาจากทางเข้า ปรากฏหิ้งพระและพระพุทธรูปศิลปะแบบพม่า เมื่อสอบถามเจ้าอาวาสทราบว่าวัดเพิ่งได้รับบริจาคเมื่อไม่นานมานี้ ส่วนทางซ้ายมือมีกลุ่มวัตถุสำคัญ 2 ประเภทคือ กลุ่มเครื่องใช้ในครัวเรือนและเครื่องดนตรีล้านนา\r\nเครื่องใช้ในครัวเรือนโดยมากเป็นเครื่องปั้นดินเผาที่จัดวางตามชั้นไม้ประกอบขึ้นอย่างง่าย หากวัตถุชิ้นใดมีลักษณะการใช้งานแบบแขวน วัตถุจะได้รับการแขวนตามการใช้งานเดิม ส่วนกลุ่มวัตถุที่เป็นเครื่องดนตรี มีทั้งเครื่องดนตรีล้านนา สะล้อ ซึง กลองปูจา ฯลฯ และเครื่องดนตรีไทยเช่น ระนาด ฆ้องวง เป็นต้น \r\nจากโถงจัดแสดงด้านนอก เมื่อเดินเข้าไปจะแบ่งห้องจัดแสดงไว้ 3 ห้อง ห้องแรก มีปริมาณสิ่งของจำนวนมากและหลากหลาย ทำให้ห้องดังกล่าวไม่ต่างจากคลังวัตถุ สิ่งของบางประเภทเป็นกลุ่มวัตถุใหญ่ เช่น ผ้า ที่ได้รับการจัดเรียงบนราว ประมาณ 3 ชั้น ซ้อนกันในตู้กระจก หนังสือเก่าต่าง ๆ และของที่เกี่ยวข้องกับศาสนา เครื่องแก้ว ถ้วยโถโอชาม พัดลมผ้าติดเพดาน เครื่องปั้มน้ำ สิ่งของร่วมสมัยอื่น ๆ ซึ่งมีอายุไม่เก่ามากนักแต่มิได้ใช้งานแล้ว\r\nห้องที่ 2 จัดแสดงของหลากหลายเช่นเดียวกับห้องแรก ประกอบด้วย ภาพเก่า พระพุทธรูป พระพิมพ์ ตาลปัตร (พัดยศของพม่า) หนังสือวรรณกรรมเกี่ยวกับล้านนา เทวรูปที่ปะปนกันตั้งแต่เรื่องของรูปแบบ วัสดุ (ไม้ หิน ปูน) ตุ๊กตาจีน เครื่องชั่งตวงในสมัยก่อน เทป แผ่นเสียงเก่า \r\nห้องที่ 3 ซึ่งอยู่ด้านในสุด ห้องดังกล่าวเน้นการแสดงวัตถุที่มีวัสดุเป็นผ้า ธงต่าง ๆ ธงมังกร ผ้าคัมภีร์เครื่องแต่งกายวัตถุจัดแสดงไว้ทั้งในตู้และขึงบนผนัง ผนังด้านหนึ่งของห้องติดกระดาษแสดงรายชื่อสิ่งของที่จัดแสดงในห้องดังกล่าว ซึ่งเป็นห้องเดียวที่มีกระดาษแสดงรายชื่อวัตถุจัดแสดง และเมื่ออ่านรายละเอียดที่มาที่ไปของวัตถุแล้วจะเห็นว่า เกี่ยวข้องกับกษัตริย์และราชวงศ์ที่ปกครองล้านนาเสียเป็นส่วนใหญ่","open_date":"เปิดทำการทุกวัน\r\n","latitude":"18.792","longitude":"99","address":"1423","tambon":"ช้างม่อย","ampher":"เมือง","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"50000","tel":"08-9850-1252","email":"","website":"https:\/\/www.navanurak.in.th","bg_path":"watketkaram","bg_lang":"th","pic":"37_201110201342231..jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/watketkaram\/pic\/big\/37_201110201342231..jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"watermark.png","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2020-11-11 10:39:36"},{"museum_code":"03","museum_name":"พิพิธภัณฑ์วัดมงคลทุ่งแป้ง","description":"วัดมงคลทุ่งแป้ง ถือเป็นวัดเก่าแก่ มีอายุประมาณ 500 ปีขึ้นไป ภายในวัดปรากฎซากโบราณสถาน ได้แก่ ซุ้มประตูโขงทางด้านทิศเหนือและทิศตะวันตก นอกจากนี้ยังมีวิหารเก่าที่มีความสวยงามภายในประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย ซึ่งวิหารดังกล่าวปัจจุบันได้รับการบูรณะเป็นที่เรียบร้อยแต่ยังคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์และความสวยงามดั้งเดิม ซึ่งจากการบูรณะวิหารดังกล่าว เจ้าอาวาสรุ่นก่อน ๆ ได้เห็นถึงความสำคัญของส่วนประกอบของวิหารเก่า จึงได้จัดเก็บและรักษาไว้เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ชมความเก่าแก่ของวิหารนี้ ไม่เพียงแค่นั้นต่อมาได้นำโบราณวัตถุต่าง ๆ ที่พบในวัด ได้แก่ ข้าวของเครื่องใช้ของพระภิกษุสงฆ์แต่เดิม และวัตถุที่ชาวบ้านที่มีจิตศรัทธานำมาถวายในอดีต โดยนำมาจัดแสดงภายในตู้กระจกภายในวิหารของวัด\r\n","open_date":"เปิดทำการ วันอังคาร - วันอาทิตย์\r\nเวลา 09.00 น. - 18.00 น.","latitude":"18.5327","longitude":"98.8567","address":"","tambon":"ท่าวังพร้าว","ampher":"สันป่าตอง","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"50120","tel":"053-0000000","email":"mail@gmail.com","website":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/","bg_path":"watmongkol","bg_lang":"th","pic":"IMG_4884 (1).jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/watmongkol\/pic\/big\/IMG_4884 (1).jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"watermark.png","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2020-09-17 03:17:10"},{"museum_code":"04","museum_name":"พิพิธภัณฑ์วัดร้องเม็ง","description":"พิพิธภัณฑ์วัดร้องเม็ง ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2527 โดยท่านเจ้าอาวาสพระครูโกวิทธรรมโสภณ หรือพระครูศรีผ่อง โกวิโท (บุญเป็ง) โดยท่านสนใจในคุณค่าของเก่าของโบราณมาตั้งแต่เป็นสามเณร วัตถุโบราณชิ้นแรกสุดที่ได้รับมาคือ แบบพิมพ์ดินปั้น (ปิมปั้นดินกี่) ของมารดาท่านเจ้าอาวาส ซึ่งได้รับตกทอดมาแต่บรรพบุรุษ เป็นแบบพิมพ์ทำด้วยไม้สักมีอายุกว่า 100 ปี ถือเป็นวัตถุชิ้นแรกของพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ จากจุดเริ่มต้นดังกล่าวทำให้ท่านตระหนักถึงความสำคัญของสิ่งของ เครื่องใช้ต่างๆ ที่บรรพบุรุษได้สร้างขึ้นมาเพื่อประกอบสัมมาอาชีพเลี้ยงครอบครัว","open_date":"เปิดทำการ วันอังคาร - วันอาทิตย์\r\n","latitude":"18.8827","longitude":"99.1002","address":"","tambon":"หนองแหย่ง","ampher":"สันทราย","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"50000","tel":"053-255-182","email":"","website":"https:\/\/www.anurak.in.th\/watrongmeng","bg_path":"watrongmeng","bg_lang":"th","pic":"1449491467_685.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/watrongmeng\/pic\/big\/1449491467_685.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"watermark.","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-21 03:01:11"},{"museum_code":"06","museum_name":"พิพิธภัณฑ์วัดน้ำจำ","description":"พิพิธภัณฑ์วัดน้ำจำ เป็นอาคารสองชั้น ยาวประมาณ 20 เมตร กว้างประมาณ 8 เมตร จัดแสดงของเก่าแก่โบราณหลายยุคหลายสมัย ทั้งของมีค่าและสิ่งของเครื่องใช้ทั่วไป วัตถุจัดแสดงบางส่วน เป็นของที่มีอยู่ในวัด บางส่วนพระครูพิศาลเจติยารักษ์ เจ้าอาวาสได้สะสมไว้ และบางส่วนมีชาวบ้านจำมาบริจาค จัดเปิดเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้และท่องเที่ยวอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ.2555","open_date":"เปิดทำการ วันอังคาร - วันอาทิตย์","latitude":"18.7575","longitude":"99.1541","address":"","tambon":"ร้องวัวแดง","ampher":"สันกำแพง","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"50000","tel":"053-0000000","email":"mail@gmail.com","website":"anurak.in.th","bg_path":"watnamcham","bg_lang":"th","pic":"thumb-1620469_755555127857238_1587239040663068728_n (1).jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/watnamcham\/pic\/big\/thumb-1620469_755555127857238_1587239040663068728_n (1).jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"watermark.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2017-11-20 14:05:16"},{"museum_code":"07","museum_name":"ร่มบ่อสร้าง โดย ศูนย์อุตสาหกรรมทำร่ม ","description":"ศูนย์อุตสาหกรรมทำร่ม เป็นของเอกชนซึ่งตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2521 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่ออนุรักษ์วิธีการทำร่มตามแบบอย่างที่บรรพบุรุษของหมู่บ้านเคยทำมามิให้สูญหาย พัฒนาคุณภาพ ขยายตลาด และส่งเสริมกิจการด้านธุรกิจท่องเที่ยว ช่วยฟื้นฟูและสนับสนุนผู้ที่เคยประกอบอาชีพนี้มาก่อน และได้เลิกราไป ให้หันมาประกอบอาชีพนี้อีกครั้ง รวมทั้งสร้างให้มีรายได้พอเพียงกับสภาพการครองชีพในปัจจุบัน \r\n.\r\nUmbrella Making Centre established in the year 1978 under the concept of:\r\n1. Consolidating ex-umbrella makers to work in the same place.\r\n2. Uphold and improve the ancestral arts of this village.\r\n3. Improve the living standards of a number of villagers.\r\n4. Enlarge the market extent of umbrellas, especially the foreign market. ","open_date":"เปิดให้เข้าชมทุกวัน \r\n(ในกรณีต้องการทำกิจกรรม\/เวิร์คช็อป\/หรือขอข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร กรุณาติดต่อล่วงหน้า) ","latitude":"18.7645","longitude":"99.0825","address":"111\/2 หมู่ 3 หมู่บ้านบ่อสร้าง","tambon":"ต้นเปา","ampher":"สันกำแพง ","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"50130","tel":"053-338195, 053-338324","email":"romborsang@yahoo.com","website":"www.handmade-umbrella.com","bg_path":"handmadeumbrella","bg_lang":"th","pic":"borsrang-217169.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/handmadeumbrella\/pic\/big\/borsrang-217169.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"watermark.JPG","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-22 03:43:20"},{"museum_code":"08","museum_name":"พิพิธภัณฑ์ไทเขินวัดสันก้างปลา","description":"บ้านสันก้างปลา เป็นชุมชนขนาดเล็กแห่งหนึ่งในเขตอำเภอสันกำแพง ชาวบ้านที่นี่เกือบทั้งหมดเป็นชาวไทยเขิน สืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษที่อพยพมาจากเมืองเชียงตุง ประเทศพม่า ในสมัยที่พระเจ้ากาวิละ ได้กวาดต้อนกลุ่มชาวไทยเขินให้มาอยู่เมืองเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2339 เวลาได้ล่วงเลยมากว่าสองร้อยปี แต่ชาวไทยเขินยังคงรักษาเอกลักษณ์ของชุมชนไว้ได้อย่างเหนียวแน่น\r\n\r\nศูนย์วัฒนธรรมไทยเขิน วัดสันก้างปลา จัดตั้งขึ้นเพื่ออนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชาวไทยเขิน และเผยแพรให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง นอกจากนี้ยังเป็นการปลูกจิตสำนึกแก่เยาวชนให้มีความรักท้องถิ่น รวมไปถึงตระหนักในคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษได้สร้างสมมาหลายชั่วอายุคน\r\n\r\nภายในศูนย์วัฒนธรรมวัดสันก้างปลานี้ ประกอบด้วยนิทรรศการที่ให้ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของชาวไทยเขิน เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายแบบชาวไทยเขิน ทั้งที่เป็นของเก่าแก่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษและที่ตัดเย็บขึ้นมาใหม่โดยกลุ่มแม่บ้าน รวมถึงเครื่องใช้ไม้สอยในชีวิตประจำวัน ซึ่งเดิมเคยมีการจัดทำทะเบียนวัตถุ แต่ภายหลังเมื่อมีวัตถุใหม่ ๆ เข้ามาเพิ่ม ทำให้เลขทะเบียนกระจัดกระจาย ทางศูนย์กำลังจัดทำเลขทะเบียนใหม่เพื่อการจัดเก็บที่เป็นระบบมากขึ้น\r\n\r\nการจัดตั้งและการดำเนินงานพิพิธภัณฑ์เป็นความร่วมมือระหว่างวัดและชุมชน โดยชาวบ้านจะแวะเวียนมาดูแลศูนย์ฯ ถ้าผู้มาเยี่ยมชมศูนย์มีข้อสงสัยอะไร ชาวบ้านสามารถเป็นวิทยากรแนะนำและตอบคำถามได้ แต่โดยปกติแล้วพระในวัดจะเป็นวิทยากรประจำ ถือได้ว่าศูนย์แห่งนี้เป็นแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่สำคัญของคนในชุมชนและชุมชนข้างเคียง\r\n\r\nวัดยังจัดกิจกรรมให้กับเยาวชน โดยเนื้อหาจะแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ ส่วนธรรมะและส่วนวัฒนธรรม \r\nอันดับแรกเป็นการบรรยายธรรมะเพื่อให้สงบจิตสงบใจและเกิดสมาธิ จากนั้นจึงนำชมศูนย์ การนำชมนี้จะไม่ยัดเยียดข้อมูลให้ผู้ชม แต่จะรอตอบข้อสงสัยเป็นเรื่อง ๆ ไป เพราะมีป้ายเขียนบรรยายรายละเอียดไว้หมดแล้ว พระวิทยากรจะแนะนำเฉพาะเรื่องที่นอกเหนือไปจากนั้น ซึ่งเป็นการกระตุ้นผู้มาชมให้คิดให้ถาม และรับข้อมูลตรงตามที่ตนสนใจได้อย่างเต็มที่และตรงวัตถุประสงค์มากที่สุด\r\n\r\nในปัจจุบัน ศูนย์ฯ มีความพร้อมทั้งในด้านข้อมูลและบุคลากรที่สามารถรองรับผู้สนใจมาเยี่ยมชม และศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ท้องถิ่นชาวไทยเขินได้เป็นอย่างดี สำหรับผู้ที่มีโอกาสเดินทางผ่านไปยังอำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ อย่าลืมแวะเวียนเข้ามาเยี่ยมชม ศูนย์วัฒนธรรมไทยเขิน วัดสันก้างปลา บ้าง เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ของตนเอง อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ได้อีกด้วย","open_date":"เปิดทำการ วันอังคาร - วันอาทิตย์","latitude":"13.765","longitude":"100.501","address":"","tambon":"ทรายมูล","ampher":"สันกำแพง","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"50130","tel":"","email":"mail@gmail.com","website":"","bg_path":"watsankangpla","bg_lang":"th","pic":"84198359DSCF9431.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/watsankangpla\/pic\/big\/84198359DSCF9431.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"watermark.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2019-02-12 15:34:01"},{"museum_code":"09","museum_name":"พิพิธภัณฑ์วัดทรายมูลเมือง","description":"สร้างเมื่อ พ.ศ. 2030 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2450 เดิมวัดนี้สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าติโลกราช อันทรงเป็นผู้ครองนครเชียงใหม่ ก่อนที่จะได้ชื่อ \"วัดทรายมูล\" เคยเป็นอารามมาก่อน มีชื่อว่า \"อารามบ้านปะ\" อาจเป็นเพราะสายน้ำ\r\nที่ไหลมาจากดอยสุเทพแล้วมาประจบกันที่นี่ทำให้เกิดเป็นหนองน้ำ ณ จุด นี้จึงได้ชื่อว่า หนองทรายมูล อีกประการหนึ่ง ที่จุดนี้มีการขุดเอาดินขึ้นมาเพื่อเอาดินมาปั้นอิฐเพื่อนำไปก่อสร้างกำแพงเมืองชั้นในของนครเชียงใหม่จนทำให้ตรงนี้กลายเป็นหนองน้ำ เมื่อได้รับวิสุงคามสีมา จึงได้เรียกว่า \"วัดทรายมูล\"","open_date":"กรุณาติดต่อสอบถามล่วงหน้า","latitude":"13.765","longitude":"100.501","address":"3","tambon":"พระสิงห์","ampher":"เมือง","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"52000","tel":"","email":"mail@gmail.com","website":"","bg_path":"watsaimoon","bg_lang":"th","pic":"554032337ho trai print copy2.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/watsaimoon\/pic\/big\/554032337ho trai print copy2.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"watermark.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2019-02-12 16:00:58"},{"museum_code":"10","museum_name":"พิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมไทยสายใยชุมชนหนองเงือก","description":"พิพิธภัณฑ์คัมภีร์ใบลานวัดหนองเงือก ต.แม่แรง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน\r\nเป็นแหล่งรวบรวมคัมภีร์ใบลาน พับสา และวัตถุอื่นๆ ที่น่าสนใจอีกจำนวนมาก\r\n....\r\nวัดหนองเงือกตั้งอยู่ในหมู่บ้านหนองเงือก ตำบลแม่แรง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน\r\nอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอป่าซางไปทางทิศใต้ ประมาณ ๔ กิโลเมตร ถนนเข้าสู่วัดอยู่ฝั่งตะวันตกของถนนสายป่าซาง - ลี้\r\nตามประวัติกล่าวว่า ในปี ๒๓๗๑ ได้มีชาวบ้านหนองเงือกคนหนึ่งชื่อว่านายใจ มีความคิดที่จะสร้างวัดขึ้นในหมู่บ้าน หนองเงือก เนื่องจากว่าในขณะนั้นหมู่บ้านนี้ ยังไม่มีวัดเลย จึงปรึกษากับครูบาปารมี และได้นิมนต์ท่านครูบามาเป็นประธานในการ สร้างวัด ในปี พ.ศ.๒๓๗๒ จึงแล้วเสร็จและตั้งชื่อวัดตามหมู่บ้านว่า วัดหนองเงือก โดยมีท่านครูบาปารมีเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก วัดนี้มีความสำคัญในฐานะที่มีโบราณสถาน ที่มีรูปแบบศิลปกรรมสวยงาม และมีสภาพที่สมบูรณ์ มากทีเดียวนั่นคือหอไตร ซุ้มประตูวัดดั้งเดิมและพระเจดีย์\r\nหอไตรของวัดตั้งอยู่ทางด้านใต้เจดีย์เป็นหอไตรก่ออิฐถือปูนทั้งหลัง ตัวหอไตรสร้างเป็น ๒ ชั้น ชั้นล่างเป็นห้องโล่งมีทางเข้าด้านเดียว ทางเข้านี้ทำเป็นซุ้มโค้งมีทั้งหมด ๕ ช่อง ช่องด้านซ้ายมือสุด เป็นผนังทึบมีรูปเทวดาปูนปั้น ๒ องค์ประดับ ผนังของหอไตรชั้นล่างทั้ง ๓ ด้านมีภาพจิตรกรรมฝาผนัง เขียนประดับเอาไว้ ผนังด้านซ้ายมือภาพเลอะเลือนไปมาก ผนังในสุดซึ่งเป็นพื้นที่กว้างที่สุดแบ่งพื้นที่ ของภาพออกเป็น ๒ ส่วน ด้านซ้ายมือเขียนเป็นเรื่องราวขององค์พระสัมมาสัมพระพุทธเจ้าตอนที่ ทรงนำพระอรหันต์เสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ หลังจากที่พระองค์เสด็จขึ้นไปแสดงพระธรรม เทศนาโปรดพุทธมารดา ส่วนด้านขวามือนั้นเขียนเป็นภาพเมืองบาดาลมีพระยานาคมารอรับเสด็จ พระพุทธองค์ ด้านขวาสุดเขียนเป็นภาพเจ้าวิธูรบัณฑิต นั่งอยู่ในปราสาท ด้านบนของผนังส่วนนี้ มีข้อความเขียนด้วยอักขระล้านนามีใจความว่า “ ศักราชได้ ๑๒๗๙ ตัว ปีเมืองไส้ เดือน ๙ ลง ๑๕ ค่ำ เม็งวันเสาร์ ไทยกัดเป้า ยามกองแลงได้แต้มข่าวเนื่องพระพุทธเจ้าโผดสัตว์ ในชั้นฟ้า เมืองคน แลเมืองนาค ถวายค่านี้ ๔๐ แถบ รวมหมดเสี้ยง ๕๘ แล “ ส่วนผนังด้านขวามือนั้นเขียนเป็นเรื่องราวจากนิทานชาดกเรื่อง “พรหมจักรชาดก” ซึ่งเป็นนิทานพุทธศาสนาที่มีเค้าโครงเรื่องมาจากวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ลักษณะของภาพ จิตรกรรมฝาผนังในหอไตรวัดหนองเงือก นี้เป็นศิลปกรรมที่ได้รับอิทธิพลของศิลปะแบบ พม่าค่อนข้างมาก โดยเฉพาะเครื่องแต่งกายของคนในภาพ แต่คำอธิบายภาพทั้งหมดเขียนด้วย อักขระล้านนาทั้งสิ้น","open_date":"เปิดทำการ วันอังคาร - วันอาทิตย์","latitude":"13.765","longitude":"100.501","address":"23","tambon":"แม่แรง","ampher":"ป่าซาง","province":"ลำพูน ","zipcode":"51120","tel":"","email":"mail@gmail.com","website":"","bg_path":"watnong-ngueak","bg_lang":"th","pic":"Hor Trai.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/watnong-ngueak\/pic\/big\/Hor Trai.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"watermark.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2019-01-31 11:12:57"},{"museum_code":"100","museum_name":"แหล่งเรียนรู้กล่องข้าวเมืองมาย อ.แจ้ห่ม จ.ลำปาง","description":"แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ พิพิธภัณฑ์กล่องข้าวเมืองมาย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏลำปาง จัดแสดงกล่องข้าวและวัตถุจักสานอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่างการทำงานวิจัยเรื่อง \"โครงการกล่องข้าวตำบลเมืองมาย อำเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปาง บทบาทและความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับชุมชนในการอนุรักษ์ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการผลิตกล่องข้าว\" ของผู้ช่วยศาสตราจารย์จำลอง คำบุญชู (ข้าราชการบำนาญและอาจารย์อาวุโสประจำสาขาวิชาภาษาไทย (ศศ.บ.) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง) โดยหลังจากที่เกษียณอายุราชการแล้ว ท่านได้บริจาคกล่องข้าวในงานวิจัยดังกล่าวให้แก่สาขาวิชาภาษาไทย (ศศ.บ.) สำหรับใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ของสาขาวิชา และเพื่อให้การจัดการเรียนรู้ดังกล่าวเป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจเกี่ยวกับกล่องข้าวเมืองมาย อ.แจ้ห่ม จ.ลำปาง ในวงกว้าง สาขาวิชาจึงได้จัดทำฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ออนไลน์ร่วมกับทีมวิจัยเทคโนโลยีภาษาธรรมชาติและความหมาย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) และสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตร (สท.)(สวทช.) โดยรวบรวมข้อมูลความรู้ต่างๆ จากงานวิจัยดังกล่าว มาใช้ในการอธิบายร่วมกับการจัดแสดงกล่องข้าวเมืองมายแต่ละใบในระบบออนไลน์ ทั้งยังบูรณาการกับการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา (การเตรียมความพร้อมด้านเทคโนโลยีฯ) การบริการวิชาการ และการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆของหลักสูตร อาทิ คติชนวิทยา\/คติชนวิทยาประยุกต์\/ภูมิปัญญาและวิถีชีวิตไทย\/พิพิธภัณฑ์ศึกษา\/การจัดการเอกสารโบราณในยุคดิจิทัล ฯลฯ ","open_date":"ผู้สนใจเยี่ยมชมกล่องข้าวเมืองมาย อ.แจ้ห่ม จ.ลำปาง สามารถเข้าชมกล่องข้าวของจริงได้ที่โถงจัดแสดง ชั้น 1 (ด้านหลังลานลีลาวดี) จัดแสดงในตู้กระจกมากกว่า 180 กล่อง ขนาดตั้งแต่กล่องข้าวหลวง-กล่องข้าวน้อย ทั้งยังมีลวดลายต่างๆให้ชมทั้งแบบกล่องข้าวขาวและกล่องข้าวลาย อาคาร 9 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏลำปาง ","latitude":"18.234","longitude":"99.488","address":" คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏลำปาง\r\nอาคาร 9 (อาคารราชภัฏ) 119 หมู่ 9 ","tambon":"520106","ampher":"603","province":"ลำปาง ","zipcode":"52100","tel":"054-316-154","email":"husoc@g.lpru.ac.th","website":"https:\/\/hugiswh.lpru.ac.th\/th\/bachelor\/thai\/","bg_path":"lpru_ricebox","bg_lang":"th","pic":"2023-01-25_21-57-11_ผศ.จำลอง คำบุญชู.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/lpru_ricebox\/pic\/profile_upload\/2023-01-25_21-57-11_ผศ.จำลอง คำบุญชู.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-07-22 12:36:22"},{"museum_code":"101","museum_name":"ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมล้านนา (ไต) มหาวิทยาลัยพะเยา","description":"ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมล้านนา (ไต) มหาวิทยาลัยพะเยา","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"19 หมู่ 2","tambon":"แม่กา","ampher":"เมือง","province":"พะเยา ","zipcode":"56000.","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"LTAC_UP","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-07-22 12:31:17"},{"museum_code":"102","museum_name":"มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต","description":"ส่วนจัดแสดงฐานข้อมูลวิจัยของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ได้รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการวิจัยภายใต้ \"โครงการความหลากหลายทางชีวภาพของทรัพยากรชายฝั่งภูเก็ตเพื่อการฟื้นฟูและอนุรักษ์สู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน\" และ \"โครงการสถานภาพและการแพร่กระจายของจักจั่นทะเลตามธรรมชาติเพื่อการจัดการท่องเที่ยวชุมชนหาดไม้ขาวอย่างยั่งยืน\" ดำเนินการหลักโดยทีมวิจัยจากคณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ซึ่งได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของทรัพยากรชายฝั่งบริเวณหาดไม้ขาว ตำบลไม้ขาว อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต โดยมุ่งเน้นการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับทรัพยากรที่เป็นอัตลักษณ์ของชุมชนไม้ขาว (จักจั่นทะเล ผักลิ้นห่าน และป่าพรุ) ซึ่งดำเนินการศึกษาปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อจักจั่นทะเลและผักลิ้นห่าน ส่งเสริมการแปรรูปจักจั่นทะเลและผักลิ้นห่าน เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและสร้างรายได้ให้กับชุมชน ดำเนินการสำรวจความหลายหลายทางชีวภาพของป่าพรุ เพื่อการอนุรักษ์ป่าพรุผืนสุดท้ายของจังหวัดภูเก็ต และศึกษาการจัดการท่องเที่ยวชุมชนตำบลไม้ขาว พัฒนาเส้นทางและผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นเพื่อการท่องเที่ยวบนพื้นฐานของวิถีชุมชนชายฝั่ง รวมถึงการสร้างอัตลักษณ์ด้านการท่องเที่ยวให้กับชุมชนไม้ขาว","open_date":"","latitude":"7.89443","longitude":"98.3529","address":" คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต\r\n80 หมู่ 1 ถนนวิชิตสงคราม ตำบลกะทู้ อำเภอกะทู้","tambon":"","ampher":"","province":"ภูเก็ต ","zipcode":"83120","tel":"0899964644","email":"te@phuket.psu.ac.th","website":"https:\/\/te.psu.ac.th\/te2022\/","bg_path":"PSU_Maikhao_BIORECSUST","bg_lang":"th","pic":"2023-03-01_16-40-28_01.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/PSU_Maikhao_BIORECSUST\/pic\/profile_upload\/2023-03-01_16-40-28_01.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-14 10:35:14"},{"museum_code":"103","museum_name":"ทุ่งกุลาร้องไห้ ร้อยเอ็ด","description":"ทุ่งกุลาร้องไห้ มีเรื่องเล่าสืบกันมาว่า ชนเผ่ากุลาซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยจากเมืองเมาะตะมะ ประเทศพม่า ได้เดินทางมาค้าขายผ่านทุ่งแห่งนี้ ปกติแล้วชนเผ่ากุลาเป็นชนเผ่าที่มีความอดทนสูงมาก สู้งาน สู้แดด ลม ฝน แต่เมื่อได้เดินทางผ่านทุ่งแห่งนี้ ที่มีพื้นที่กว้างขวางเหลือประมาณ ต้องใช้เวลาเดินทางหลายวัน ไม่พบหมู่บ้านใด ๆ เลย น้ำก็ไม่มีดื่ม ต้นไม้ก็ไม่มีที่จะให้ร่มเงา มีแต่ทุ่งหญ้าเต็มไปหมด พื้นดินก็เป็นทราย เดินทางยากลำบากเหมือนอยู่กลางทะเลทราย ทำให้คนพวกนี้ถึงกับร้องไห้ ดังนั้น จึงได้ชื่อว่า \"ทุ่งกุลาร้องไห้\" ทุ่งกุลาร้องไห้ เป็นทุ่งกว้างใหญ่สองล้านไร่ ครอบคลุมพื้นที่ 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดยโสธร และจังหวัดศรีสะเกษ ทุ่งกุลาร้องไห้ครอบคลุมพื้นที่ 5 อำเภอในจังหวัดร้อยเอ็ด ได้แก่ อำเภอปทุมรัตต์ อำเภอเกษตรวิสัย อำเภอสุวรรณภูมิ อำเภอโพนทราย และอำเภอหนองฮี ทุ่งกุลาร้องไห้เป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพสูงของประเทศ ในอดีตกันดาร แห้งแล้ง ปัจจุบันเป็นทุ่งสวยงามน่าสัมผัสธรรมชาติในวิถีชีวิตของชาวนาในช่วงเดือนกรกฎาคม - เดือนกันยายน ทุ่งกุลาจะเขียวขจีไปด้วยต้นข้าว และในช่วงเดือนตุลาคม - เดือนพฤศจิกายน จะพบกับทุ่งข้าวรวงทองเหลืองอร่าม สวยงามมากและอบอวนด้วยกลิ่นหอมของข้าวหอมมะลิ เหมาะสำหรับการจัดกิจกรรมเดิน-วิ่ง หรือปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพในบริเวณทุ่งกุลามีแหล่งท่องเที่ยวทางอารยธรรมขอม ได้แก่ กู่กาสิงห์ กู่พระโกนา หมู่บ้านท่องเที่ยว กู่โพนระฆัง เมืองบัว เป็นต้น","open_date":"ท่านที่สนใจนำเข้าข้อมูล หรือเสนอแหล่งท่องเที่ยว ร้านอาหาร ที่พัก และจุดแวะซื้อผลิตภัณฑ์ต่างๆ สามารถส่งภาพและข้อมูล มายัง ดร. สุภาพร ชื่นชม (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน) ผู้รับผิดชอบนำเข้าข้อมูล","latitude":"15.9391","longitude":"103.148","address":" -","tambon":"451104","ampher":"501","province":"ร้อยเอ็ด ","zipcode":"45130","tel":"0918624275","email":"Chunchoms@gmail.com","website":"","bg_path":"SDGstravelroiet","bg_lang":"th","pic":"2022-02-18_12-54-21_S__4825116.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/Phukumkhaw_Roiet\/pic\/profile_upload\/2022-02-18_12-54-21_S__4825116.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-06-14 05:53:47"},{"museum_code":"104","museum_name":"เส้นทางท่องเที่ยวคำพอุง-อ่างเก็บน้ำห้วยทราย (เทศบาลตำบลคำพอุง)","description":"เทศบาลตำบลคำพอุง เป็นหน่วยงานที่ดูแลอ่างเก็บน้ำห้วยทราย ความจุประมาณ 452,380 ลูกบาศก์เมตร ","open_date":"","latitude":"16.4314","longitude":"103.849","address":"","tambon":"คำพอุง","ampher":"โพธิ์ชัย","province":"ร้อยเอ็ด ","zipcode":"45230","tel":"043030337","email":"","website":"","bg_path":"khampaungHuaysai","bg_lang":"th","pic":"2021-09-10_14-54-47_444.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/khampaungHuaysai\/pic\/profile_upload\/2021-09-10_14-54-47_444.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-02-21 12:52:12"},{"museum_code":"105","museum_name":"ถ้ำภูมวย","description":"ถ้ำภูมวย ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่บ้านนางาม หมู่ที่ 11 ต.คำพอุง อ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด เป็นหินสลับซับซ้อน เป็นโพลงลึกเป็นถ้ำที่สวยงามตามธรรมชาติ \r\nถ้ำภูมวย เดิมเรียกว่า ถ้ำภูน้อย บริเวณดังกล่าวมีไว้ที่ใช้ทำที่นึ่งข้าวเหนียวที่เรียกว่า \"มวย\" ขึ้นหนาแน่น ชาวบ้านก็ไปตัดไม้ที่บริเวณนี้ จึงเรียกต่อกันมาว่า \"ถ้ำภูมวย\" ","open_date":"","latitude":"16.4589","longitude":"1.87056","address":"-","tambon":"คำพอุง","ampher":"โพธิ์ชัย","province":"ร้อยเอ็ด ","zipcode":"45230","tel":"043030337","email":"","website":"","bg_path":"Phumuay","bg_lang":"th","pic":"2022-01-14_12-00-33_S__8282143.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/Phumuay\/pic\/profile_upload\/2022-01-14_12-00-33_S__8282143.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2024-03-19 09:07:41"},{"museum_code":"106","museum_name":"ถ้ำหินสอ (เทศบาลตำบลคำพอุง)","description":"เป็นหน่วยงาน ที่ดูแล ถ้ำหินสอ (ระยะห่างจากบ้านภูเขาทอง 2 กิโลเมตร -ถัดจากถนนสี่ช่องจราจรเส้นทางกาฬสินธุ์ - มุกดาหาร ไปประมาณ 1.50 กิโลเมตร) ลักษณะเป็นภูเขาหินหน้าตัดที่วางซับซ้อนกันเป็นระเบียงยาว 1 กิโลเมตร ลักษณะหินเป็นสีขาวใช้เขียนกระดานชนวนเหมือนดินสอได้ จึงมีตำนานเรียกว่า “ถ้ำหินสอ” สามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ 043-030337 หรือ Facebook เทศบาลตำบลคำพอุง Khamphaungs","open_date":"","latitude":"16.4308","longitude":"103.855","address":"","tambon":"คำพอุง","ampher":"โพธิ์ชัย","province":"ร้อยเอ็ด ","zipcode":"45230","tel":"043030337","email":"khamphaungphocha101@gmail.com","website":"https:\/\/www.khamphaungs.go.th","bg_path":"Hinsor","bg_lang":"th","pic":"2021-09-10_14-34-21_วัดถ้ำหินสอ_๒๑๐๙๑๐_4.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/Hinsor\/pic\/profile_upload\/2021-09-10_14-34-21_วัดถ้ำหินสอ_๒๑๐๙๑๐_4.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"วัดถ้ำหินสอ_๒๑๐๙๑๐_3.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2022-10-31 11:02:14"},{"museum_code":"107","museum_name":"วัดประชาคมวนาราม (วัดป่ากุง)","description":"วัดป่ากุง หรือ วัดประชาคมวนาราม ตั้งอยู่ใน อ.ศรีสมเด็จ จ.ร้อยเอ็ด มีเจดีย์หินทรายที่เป็นสิ่งมหัศจรรย์ที่สวยงามเป็นเจดีย์ขนาดใหญ่ ทำจากหินทรายธรรมชาติแห่งแรกในประเทศไทย โดยจำลองแบบการก่อสร้างมาจากบุโรพุทโธ ประเทศอินโดนีเซีย นับเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางศาสนสถานที่สวยงามและยิ่งใหญ่ องค์พระเจดีย์มีภาพแกะสลักที่วิจิตรเป็นภาพพุทธประวัติและพระเวสสันดรชาดก ซึ่งตรงกับงานประเพณีบุญผะเหวดร้อยเอ็ด ภายในองค์เจดีย์เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ที่นำมาจากประเทศอินเดียให้พุทธศานิกชนและนักท่องเที่ยวได้กราบไหว้บูชาขอพรเพื่อเป็นสิริมงคล \r\nเจดีย์หินทรายก่อสร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ครบรอบ 90 ปี พรรษา 60 ของพระเทพวิสุทธิมงคล “หลวงปู่ศรี มหาวีโร” โดยสร้างด้วยแรงศรัทธาของคณะศิษยานุศิษย์ เสียสละกำลังกาย กำลังทรัพย์ เพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งความสมัครสมานสามัคคี เทิดทูนความดีที่หลวงปู่ศรีได้ประพฤติปฏิบัติและทำงานแข่งกับเวลาให้สำเร็จ โดยทำงานกันทั้งกลางวันกลางคืน จะกระทั่งเสร็จภายใน 2 ปี\r\nเจดีย์มีรูปทรงแปดเหลี่ยม กว้าง 101 เมตร ยาว 101 เมตร (กว้างxยาว ตามชื่อจังหวัด) สูง109 เมตร แบ่งเป็น7 ชั้น ตบแต่งด้วยหินทรายธรรมชาติ จากปากช่อง จ. นครราชสีมา \r\nชั้นที่ 1 เป็นภาพแกะสลักหินทรายเหลืองนูนต่ำเล่าเรื่องราวซึ่งเป็นพระชาติสุดท้ายที่พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญทานบารมี\r\nชั้นที่ 2-3 เป็นภาพแกะสลักหินทรายเหลืองนูนต่ำ เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับพุทธประวัติพระพุทธเจ้า\r\nชั้นที่ 4 ภาพแกะสลักหินทรายเหลืองนูนต่ำรูปชัยมงคลคาถา\r\nชั้นที่ 5 ผนังทรงกลมฐานรององค์เจดีย์ เป็นภาพสังเวชนียสถาน 4 ตำบล ประสูติ ตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา และปรินิพพาน \r\nชั้นที่ 6 เป็นองค์เจดีย์ราย 8 องค์ และองค์เจดีย์ประธาน 1 องค์ และโดยเฉพาะชั้นที่ 7 ยอดเจดีย์ทองคำ น้ำหนักถึง 101 บาท","open_date":"นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางเที่ยวชมโดยใช้รถส่วนตัว หรือสามารถจ้างรถรับจ้างเข้ามาตามแผนที่ได้เลย ","latitude":"15.9907","longitude":"103.494","address":"หมู่ที่ 11","tambon":"ศรีสมเด็จ","ampher":"ศรีสมเด็จ","province":"ร้อยเอ็ด ","zipcode":"45000","tel":"09 5509 5185","email":"","website":"-","bg_path":"Watpakung","bg_lang":"th","pic":"2021-05-19_15-44-12_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/Watpakung\/pic\/profile_upload\/2021-05-19_15-44-12_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"รูป4.jpeg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2022-03-17 08:25:28"},{"museum_code":"108","museum_name":"กู่กาสิงห์ ","description":"กู่กาสิงห์ ตั้งอยู่ในวัดบูรพากู่กาสิงห์ ตำบลกู่กาสิงห์ อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นโบราณสถานสถาปัตยกรรมแบบเขมรอีกแห่งหนึ่ง มีขนาดค่อนข้างใหญ่และยังอยู่ในสภาพดี ปัจจุบันสำนักงานโบราณคดี และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ 8 อุบลราชธานี สังกัดกรมศิลปากรได้ดำเนินการขุดแต่งและบูรณะกู่กาสิงห์ ให้สวยงามยิ่งขึ้น เพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญอีกแห่งหนึ่งในภาคอีสานของไทย กู่กาสิงห์ ประกอบด้วย ปรางค์ 3 องค์ ตั้งอยู่บนฐานศิลาแลงเดียวกันในแนวเหนือ-ใต้ แผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ปรางค์องค์กลางมีขนาดใหญ่กว่าอีก 2 องค์ที่ขนาบข้าง และมีมุขยื่นทางด้านหน้าเป็นห้องยาว ส่วนฐานขององค์ปรางค์ก่อด้วยศิลาทรายยังคงปรากฏลวดลายสลักเป็นชั้นเป็นแนว เช่น ลายกลีบบัวและลายกนก ได้ค้นพบศิวลึงค์ ซึ่งเป็นตัวแทนของเทพสูงสุด (พระอิศวร) และความอุดมสมบูรณ์ตามลัทธิความเชื่อในศาสนาพราหมณ์ลัทธิไศวนิกาย และมีวิหารหรืออาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่เรียกว่าบรรณาลัย อยู่ทางด้านหน้าทั้งสองข้าง ทั้งหมดล้อมรอบด้วยกำแพงซึ่งมีซุ้มประตูทั้ง 4 ทิศ ถัดออกไปเป็นคูน้ำรูปเกือกม้าล้อมรอบอีกชั้นหนึ่ง นอกจากนี้ยังพบทับหลังอีกหลายชิ้น ชิ้นหนึ่งสลักเป็นภาพพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณในซุ้มเรือนแก้ว และยังพบซุ้มหน้าบันสลักเป็นภาพพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณท่ามกลางลายก้านขดอีกด้วย ส่วนปรางค์อีก 2 องค์ที่ขนาบนั้น มีขนาดและลักษณะเดียวกัน ฐานก่อด้วยศิลาทราย ผนังก่ออิฐมีประตูเพียงด้านหน้า ภายในมีแท่นรูปเคารพวางอยู่จากลวดลายของศิลปกรรม ดังนั้น จากแบบแผนผังและโบราณวัตถุที่พบ แสดงให้เห็นว่า กู่กาสิงห์สร้างขึ้นในแบบศิลปะเขมรที่เรียกว่า \"แบบบาปวน\" ในราวช่วง พ.ศ. 1560-1630 เพื่อเป็นเทวสถานอุทิศถวายแด่พระอิศวร เทพเจ้าสูงสุดองค์หนึ่งในศาสนาพราหมณ์\r\n\r\n \"กู่กาสิงห์”เป็นคำที่คนไทยลาวได้ตั้งชื่อขึ้นใหม่โดยคำว่ากู่เป็นคำที่ใช้เรียกโบราณสถานที่มีลักษณะคล้ายสถูปหรือเจดีย์เก่าแก่ในอีสานตอนกลาง คำว่ากาน่าจะมาจากรูปพระยาครุฑหรือนกอินทรีย์ที่เคยปรากฏอยู่ที่กู่นอกจากนี้คำว่ากายังเป็นคำในภาษาถิ่นตรงกับคำในภาษาไทยกลางคือคำว่าตราซึ่งแปลว่าเครื่องหมาย ส่วนคำว่าสิงห์ เป็นคำใช้เรียกรูปประติมากรรมสิงห์ที่เคยมีตั้งไว้ประตูทางเข้ากู่ ดังนั้นกู่กาสิงห์จึงหมายถึงโบราณสถานที่มีรูปกาและ สิงห์เป็นเครื่องหมาย","open_date":"นักท่องเที่ยวสามารถเข้าเยี่ยมชมโบราณสถานกู่กาสิงห์ได้ทุกวัน โดยไม่เสียค่าเข้าชม","latitude":"15.7032","longitude":"101.048","address":"เทศบาลตำบลกู่กาสิงห์","tambon":"กู่กาสิงห์","ampher":"เกษตรวิสัย","province":"ร้อยเอ็ด ","zipcode":"45150","tel":"043-632-126, 09-2525-0191","email":"chantipnasook222@gmail.com","website":"www.kukasing.go.th","bg_path":"kukasing","bg_lang":"th","pic":"2021-10-04_06-01-40_รูปภาพ3.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/kukasing\/pic\/profile_upload\/2021-10-04_06-01-40_รูปภาพ3.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"2.jpeg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2022-03-16 10:35:45"},{"museum_code":"109","museum_name":"กู่พระโกนา (กู่สี่แจ่งหรือกู่คำกูนา)","description":"มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตร้อยเอ็ด ณ ทุ่งกุลาร้องไห้","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"228","tambon":"หินกอง","ampher":"สุวรรณภูมิ","province":"ร้อยเอ็ด ","zipcode":"45130","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"Kuphragona","bg_lang":"th","pic":"2021-05-19_16-13-17_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/Kuphragona\/pic\/profile_upload\/2021-05-19_16-13-17_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-02-25 01:01:59"},{"museum_code":"11","museum_name":"พิพิธภัณฑ์ทหารเรือ","description":"พิพิธภัณฑ์ทหารเรือ เป็นพิพิธภัณฑสถานแบบพิเศษ ทำหน้าที่ รวบรวม อนุรักษ์ วัตถุพิพิธภัณฑ์อันทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน และโบราณคดีที่เกี่ยวกับกิจการทหารเรือ ภายในพิพิธภัณฑ์ เป็นที่รวบรวมข้อมูลทางประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับ วัตถุพิพิธภัณฑ์สมัยโบราณของกองทัพเรือไทย ยุทธนาวีการรบครั้งสำคัญ ๆ ตลอดจนอาวุธยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ ที่เคยใช้ในการรบเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ ยังมีเรือจำลองสมัยต่าง ๆ เช่น เรือที่ใช้ในพระราชพิธีกระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค ในสมัยรัชกาลที่ 5 เรือหลวงพระร่วง เรือเหรา และเรือหลวงมัจฉาณุ\r\n สิ่งที่น่าสนใจที่สุดในพิพิธภัณฑ์ทหารเรือที่หาชมได้ยาก ก็คือ เรือหลวงมัจฉานุ ซึ่งเป็นเรือดำน้ำรุ่นแรกของกองทัพเรือไทย ที่บางส่วนได้ถูกเก็บรักษาไว้ ณ พิพิธภัณฑ์แห่งนี้.","open_date":"ทุกวัน เวลา 08.30 - 15.30 น. (เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์)","latitude":"13.6097","longitude":"100.596","address":" 99","tambon":"ปากน้ำ","ampher":"เมืองสมุทรปราการ","province":"สมุทรปราการ ","zipcode":"10270","tel":" 02 394 1997","email":"Rtn.museum@gmail.com","website":"https:\/\/www.navy.mi.th","bg_path":"tr_museum","bg_lang":"th","pic":"317924_238505502948933_71152774_n.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/tr_museum\/pic\/big\/317924_238505502948933_71152774_n.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"watermark.png","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-22 03:33:16"},{"museum_code":"110","museum_name":"มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ","description":"มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"0","tambon":"แม่แฝกใหม่","ampher":"สันทราย","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"50290","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"MaeFaekMai","bg_lang":"th","pic":"2021-05-19_16-20-58_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/MaeFaekMai\/pic\/profile_upload\/2021-05-19_16-20-58_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-21 04:50:09"},{"museum_code":"111","museum_name":"มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง","description":"มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง U2T","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"0","tambon":"แม่แฝกใหม่","ampher":"สันทราย","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"50290","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"rimping","bg_lang":"th","pic":"2021-05-19_16-25-45_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/rimping\/pic\/profile_upload\/2021-05-19_16-25-45_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-07-22 11:32:07"},{"museum_code":"112","museum_name":"มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง - U2T","description":"มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ร่วมกับ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จัดตั้งโครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ หรือ โครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจในระดับชุมชนหลังการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด – 19 ก่อให้เกิดการสร้างงาน การพัฒนาอาชีพในชุมชน เพื่อให้เกิดการจ้างงานประชาชนทั่วไป บัณฑิตจบใหม่ และนักศึกษา ทั้งให้เกิดการพัฒนาทักษะในการเสริมสร้างอาชีพใหม่ในชุมชน รวมทั้งให้เกิดการจัดทำข้อมูลขนาดใหญ่ของชุมชนและให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นด้าน BCG Economy ผ่านโครงการด้านการเกษตรอัจฉริยะ พัฒนายกระดับพืชสมุนไพร พลังงานชุมชน การท่องเที่ยวชุมชน การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ การยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน โอทอป(OTOP) รวมถึงการส่งเสริมและสนับสนุนวิสาหกิจชุมชน และเอสเอ็มอี (SMEs) ในพื้นที่ ","open_date":"","latitude":"18.234","longitude":"99.4874","address":"119 หมู่ 9","tambon":"ชมพู","ampher":"เมือง","province":"ลำปาง ","zipcode":"52100","tel":"054-237399","email":"sarabun.ootp@g.lpru.ac.th","website":"www.lpru.ac.th","bg_path":"banpao","bg_lang":"th","pic":"2021-09-11_16-20-17_unnamed.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/banpao\/pic\/profile_upload\/2021-09-11_16-20-17_unnamed.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-09-11 05:57:34"},{"museum_code":"113","museum_name":"มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง - U2T","description":"U2T - ตำบลนาแส่ง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"119 หมู่ 9","tambon":"ชมพู","ampher":"เมือง","province":"ลำปาง ","zipcode":"52100","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"nasaeng","bg_lang":"th","pic":"2021-12-21_17-55-41_gggg.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/nasaeng\/pic\/profile_upload\/2021-12-21_17-55-41_gggg.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2023-02-21 01:28:50"},{"museum_code":"114","museum_name":"มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง - U2T","description":"U2T -ต.นาครัว อ.แม่ทะ จ.ลำปาง","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"119 หมู่ 9","tambon":"ชมพู","ampher":"เมือง","province":"ลำปาง ","zipcode":"52100","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"nakrow","bg_lang":"th","pic":"2021-08-29_11-59-32_banner-nakrow copy.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/nakrow\/pic\/profile_upload\/2021-08-29_11-59-32_banner-nakrow copy.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-09-06 11:54:02"},{"museum_code":"115","museum_name":"มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง - U2T","description":"U2T - ตําบลพระบาท อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"119 หมู่ 9","tambon":"ชมพู","ampher":"เมือง","province":"ลำปาง ","zipcode":"52100","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"phrabat","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-08-03 10:51:06"},{"museum_code":"116","museum_name":"มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง - U2T","description":"U2T -ตำบลศรีวิชัย อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"119 หมู่ 9","tambon":"ชมพู","ampher":"เมือง","province":"ลำปาง ","zipcode":"52100","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"sriwichai_li","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-08-03 10:51:33"},{"museum_code":"117","museum_name":"ตำบลสวนดอก ลำปาง","description":"ตำบลสวนดอก อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง \r\nเป็นตำบลที่มีการรวมกับเทศบาลเขลางค์นครเป็นระยะเวลาประมาณ 60-70 ปี มาแล้ว \r\nทำให้ข้อมูลในส่วนของข้อมูลพื้นฐานของตำบลสวนดอกจะสามารถแบ่งออกได้เป็นทั้งหมด 3 พื้นที่ ได้แก่ พื้นที่ของศรีชุม ชุมชนกองต้าใต้ และ\r\nชุมชนเทศบาล 4","open_date":"","latitude":"18.2885","longitude":"99.4961","address":"","tambon":"สวนดอก","ampher":"เมือง","province":"ลำปาง ","zipcode":"52100","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"suandok","bg_lang":"th","pic":"2021-10-29_14-58-52_198088633_1138305276677246_4259838109362701906_n (1).jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/suandok\/pic\/profile_upload\/2021-10-29_14-58-52_198088633_1138305276677246_4259838109362701906_n (1).jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"F43_1234567890123_20250603153045.ZIP","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2025-07-01 06:08:22"},{"museum_code":"118","museum_name":"มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง - U2T ต.เหมืองง่า อ.เมือง จ.ลำพูน","description":"วัตถุประสงค์ของโครงการ\r\n\r\n1. เพื่อยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตาบลแบบบูรณาการ โดยมีมหาวิทยาลัยในพื้นที่เป็น System Integrator\r\n2. เพื่อให้เกิดการจ้างงานประชาชนทั่วไป บัณฑิตจบใหม่ และนักศึกษา ให้มีงานทาและฟื้นฟูเศรษฐกิจชุมชน\r\n3. เพื่อให้เกิดการพัฒนาตามปัญหาและความต้องการของชุมชน ได้แก่ การพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับสินค้า OTOP\/อาชีพอื่น ๆ) การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยกระดับการท่องเที่ยว) การนาองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (Health Care\/เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ) และการส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม\/Circular Economy (การเพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ชุมชน)\r\n4. เพื่อให้เกิดการจัดทาข้อมูลขนาดใหญ่ของชุมชน (Community Big Data) เพื่อเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์และตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบมีเป้าหมายชัดเจน\r\n\r\nหน้าที่ความรับผิดชอบ\r\n - การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) ในการวางแผนและตัดสินใจเพื่อจัดทำนโยบาย แนวทาง และงบประมาณสนับสนุน\r\n - การเฝ้าระวัง ประสานงาน และติดตามข้อมูลสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 และโรคระบาดใหม่\r\n - การจัดทำข้อมูลราชการในพื้นที่เป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Digitalizing Government Data)\r\n - การจ้างงานเพื่อการพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่\r\n - การพัฒนาทักษะอาชีพใหม่จากความหลากหลายทางชีวภาพและความหลากหลายทางวัฒนธรรมของชุมชน\r\n - การถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน\r\n - ภารกิจอื่นตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"119 หมู่ 9","tambon":"ชมพู","ampher":"เมือง","province":"ลำปาง ","zipcode":"52100","tel":"0972627936","email":"mueangnga.lpn5@gmail.com","website":"","bg_path":"mueangNga","bg_lang":"th","pic":"2021-09-07_13-25-13_cropped-S__318111746.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/mueangNga\/pic\/profile_upload\/2021-09-07_13-25-13_cropped-S__318111746.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"U2T.png","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-09-20 02:21:31"},{"museum_code":"119","museum_name":"มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง - U2T","description":"U2T - ต.ลำปางหลวง อ.เกาะคา จ.ลำปาง","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"119 หมู่ 9","tambon":"ชมพู","ampher":"เมือง","province":"ลำปาง ","zipcode":"52100","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"PangLuangTravel","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-08-03 08:39:31"},{"museum_code":"12","museum_name":"บ้านโบราณร้อยปี ชุมชนเทพประทาน","description":"บ้านเรือนไทยที่พักอยู่อาศัยทรงปั้นหยาโบราณประกอบไม้สักทอง สร้างในสมัยรัชกาลที่ 4 \r\nอายุมากกว่า 100 ปี จัดแสดงของสะสมโบราณ สัมผัสวิถีชุมชนวัฒนธรรมริมคลองบางราวนก\r\n","open_date":"","latitude":"13.8224","longitude":"100.541","address":"บ้านเลขที่ 9 หมู่ที่ 7","tambon":"มหาสวัสดิ์","ampher":"บางกรวย","province":"นนทบุรี ","zipcode":"11130","tel":"098 593 4508","email":"","website":"a","bg_path":"Teppratan","bg_lang":"th","pic":"2019-11-04_21-47-13_0.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/Teppratan\/pic\/profile_upload\/2019-11-04_21-47-13_0.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2019-10-03 16:15:03"},{"museum_code":"120","museum_name":"มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิม พระเกียรติ - U2T","description":"มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิม พระเกียรติ - U2T - ตำบลทุ่งน้าว อำเภอสอง จังหวัดแพร","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"17 หมู่ที่ 3","tambon":"แม่ทราย","ampher":"ร้องกวา","province":"แพร่ ","zipcode":"54140","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"misph","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-08-03 08:58:47"},{"museum_code":"121","museum_name":"มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิม พระเกียรติ - U2T","description":"มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิม พระเกียรติ - U2T - ตำบลแม่ปาน อำเภอลอง จังหวัดแพร่","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"17 หมู่ที่ 3","tambon":"แม่ทราย","ampher":"ร้องกวา","province":"แพร่ ","zipcode":"54140","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"agroforestry","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-07-30 11:48:47"},{"museum_code":"122","museum_name":"ศูนย์ความเป็นเลิศด้านความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่","description":"ตำบลแม่นาจร อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ตำบลแม่แรม อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"202 ถ.ช้างเผือก","tambon":"ช้างเผือก","ampher":"เมือง","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"50300","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"BRIC_CMRU","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-08-03 09:02:55"},{"museum_code":"123","museum_name":"มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์","description":"มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ - U2T พื้นที่ ต.แม่จัน อ.อุ้มผาง จ.ตาก","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"27","tambon":"ท่าอิฐ","ampher":"เมือง","province":"อุตรดิตถ์ ","zipcode":"53000","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"maechan_tak","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-08-03 09:21:04"},{"museum_code":"124","museum_name":"สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลย์สงคราม","description":"สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลย์สงคราม","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"156 หมู่ 5 ถนน เลี่ยงเมืองพิษณุโลก","tambon":"พลายชุมพล","ampher":"เมือง","province":"พิษณุโลก ","zipcode":"65000","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"acoart","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-08-03 09:23:41"},{"museum_code":"125","museum_name":"พิพิธบางลำพู","description":"พิพิธบางลำพู เป็นศูนย์การเรียนรู้เชิงวัฒนธรรมชุมชนตั้งอยู่ใกล้กับป้อมพระสุเมรุ ถนนพระสุเมรุ ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของกองส่งเสริมและพัฒนาทรัพย์สินมีค่าของรัฐ กรมธนารักษ์ พิพิธบางลำพูสร้างขึ้นเพื่อส่งเสริมและพัฒนาชุมชนบางลำพูให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"พระสุเมรุ","tambon":"ชนะสงคราม","ampher":"พระนคร","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10200","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"banglamphumuseum","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-08-04 09:38:36"},{"museum_code":"126","museum_name":" โครงการพัฒนาเครือข่ายคลัสเตอร์เกษตรอุตสาหกรรม (อุตสาหกรรมผึ้ง) ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ปีงบประมาณ 2564","description":"กิจกรรม พัฒนาการรวมกลุ่ม SMEs และเชื่อมโยงอุตสาหกรรมผึ้ง\r\nภายใต้โครงการ พัฒนาเครือข่ายคลัสเตอร์เกษตรอุตสาหกรรม \r\nศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม\r\nปีงบประมาณ 2564","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"0","tambon":"-","ampher":"-","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":" ","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"clusterbee","bg_lang":"th","pic":"2021-08-23_15-00-38_messageImage_1629705824087.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/clusterbee\/pic\/profile_upload\/2021-08-23_15-00-38_messageImage_1629705824087.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-08-23 03:09:02"},{"museum_code":"127","museum_name":"U2T ตำบลเวียงเหนือ จังหวัด ลำปาง","description":"มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง U2T ต.เวียงเหนือ อ.เมือง จ.ลำปาง วัตถุประสงค์ เพื่อยกระดับการท่องเที่ยวโดยการมีส่วนร่วมกับชุมชน สนับสนุนองค์ความรู้ยกระดับเศรษฐกิจและสังคมของตำบลเวียงเหนือตลอดจนพัฒนาทักษะให้กับผู้เข้าร่วมโครงการจ้างงานตามภารกิจของมหาวิทยาลัย U2T ต.เวียงเหนือได้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ภายในตำบลด้วยการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์นำลวดลายอัตลักษณ์ประจำจังหวัดลำปางลายละกอนไส้หมูที่มีอยู่ในตำบลบริเวณโก่งคิ้ววิหารวัดประตูป่อง สัตภัณฑ์ลายไส้หมูของวัดปงสนุกเหนือนำมาผสมผสานออกแบบลงในผลิตภัณฑ์ตำบลเพื่อเพิ่มมูลค่า สร้างรายได้ให้กับชุมชนภายใต้ โครงการ U2Tfor BCG ตำบลเวียงเหนือ\r\nU2T ต.เวียงเหนือ ยังคงมุ่งมั่น ตั้งใจ ในการเสริมสร้างอาชีพและรายได้เพื่อสอดคล้องแนวคิด BCG ที่สามารถต่อยอดเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชน และ สานต่อการอนุรักษ์ วัฒนธรรมที่มีคุณค่าให้คงอยู่คู่กับชุมชน ต่อไป ","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"119 หมู่ 9","tambon":"ชมพู","ampher":"เมือง","province":"ลำปาง ","zipcode":"52100","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"Wiangnuea_Lpru","bg_lang":"th","pic":"2023-02-14_19-11-11_302100093_406415274968709_6253409985525583297_n.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/Wiangnuea_Lpru\/pic\/profile_upload\/2023-02-14_19-11-11_302100093_406415274968709_6253409985525583297_n.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"หุ่นแบกซุง.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-03-12 07:40:37"},{"museum_code":"128","museum_name":"มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง - U2T","description":"มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง - U2T ต.ไหล่หิน อ.เกาะคา จ.ลำปาง","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"119 หมู่ 9 ต ชมพู อ เมือง ซอย นาก่วม 9","tambon":"ชมพู","ampher":"เมือง","province":"ลำปาง ","zipcode":"52100","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"laihin","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2023-02-21 12:03:14"},{"museum_code":"129","museum_name":"มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง - U2T","description":"มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง - U2T","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"119 หมู่ 9","tambon":"ชมพู","ampher":"เมือง","province":"ลำปาง ","zipcode":"52100","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"U2T_Searmkwa","bg_lang":"th","pic":"2021-10-22_18-38-43_LINE_ALBUM_จุด2_๒๑๑๐๒๑_2.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/U2T_Searmkwa\/pic\/profile_upload\/2021-10-22_18-38-43_LINE_ALBUM_จุด2_๒๑๑๐๒๑_2.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-22 09:15:11"},{"museum_code":"13","museum_name":"บ้านบุ ชุมชนวัดสุวรรณาราม","description":"ย่านบ้านบุ เป็นย่านชุมชนเก่าแก่ของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณริมคลองบางกอกน้อย หลังสถานีรถไฟธนบุรี ยาวขนานไปกับลำคลองถึงบริเวณวัดสุวรรณาราม ที่เรียกกันว่า ย่านบ้านบุ ด้วยเป็นย่านที่ทำขันลงหินหรือขันบุมาแต่โบราณ คำว่า บุ หมายถึงการตีให้เข้ารูป ใช้กับงานโลหะ นับเป็นอีกหนึ่งย่านน่าเที่ยวของกรุงเทพมหานคร การเดินทางก็สะดวกมาได้ทั้งทางรถ ทางเรือ","open_date":"นักท่องเที่ยวที่สนใจมาเยี่ยมชมหรือศึกษาการทำขันลงหิน สามารถเข้ามายังบ้านบุ ขันลงหินเจียม แสงสัจจา ได้วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 09.00-15.00 น. โดยติดต่อที่คุณเมตตา เสลานนท์ (โทรศัพท์ 085-956-4653) และหากถูกใจขันลงหินใบใดก็สามารถเลือกซื้อได้","latitude":"13.7627","longitude":"100.479","address":"133 ซอย จรัญสนิทวงศ์ 32","tambon":"ศิริราช","ampher":"บางกอกน้อย","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10700","tel":"085-956-4653","email":"jiamssiam@hotmail.com","website":"a","bg_path":"Banbu","bg_lang":"th","pic":"2019-11-03_13-52-39_386746.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/Banbu\/pic\/profile_upload\/2019-11-03_13-52-39_386746.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-22 09:25:58"},{"museum_code":"130","museum_name":"สวทช.ภาคเหนือ","description":"งานอัตลักษณ์ผ้า","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"155 ม.2","tambon":"แม่เหียะ","ampher":"เมือง","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"50100","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"QUARR","bg_lang":"th","pic":"2021-10-05_14-05-26_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/QUARR\/pic\/profile_upload\/2021-10-05_14-05-26_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-10-05 02:12:42"},{"museum_code":"131","museum_name":"สวนพฤกษศาสตร์ระยอง (RAYONG BOTANIC GARDEN)","description":"สวนพฤกษศาสตร์ระยอง องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีเนื้อที่ 3,871 ไร่ ลักษณะของบึงนาบริเวณชายฝั่งทะเล เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำขนาดใหญ่ครอบคลุมพื้นที่ความกว้างประมาณ 3.0 กิโลเมตร และความยาวประมาณ 4.0 กิโลเมตร ประกอบด้วยระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ำประเภทพรุ หนองบึง และป่าบก พรุแห่งนี้ ล้อมรอบภูเขาที่อยู่ทาง ทิศเหนือ ตะวันตก และตะวันออก ทางด้านใต้ของพรุเป็นที่ราบชายฝั่งทะเล ที่เกิดจากการทับถมของตะกอนทราย มีความสูงประมาณ 3 เมตร มีการใช้พื้นที่บริเวณรอบหนองบึง มีบ้านเรือนอยู่อาศัยตังอยู่ประมาณ 330 ครอบครัว เป็นพื้นที่เพื่อการเกษตรกรรม การท่องเที่ยวและนันทนาการ เป็นพื้นที่ที่มีกิจกรรมแข่งเรือ มีนักท่องเที่ยว 2,200 คน\/ปี มีประชากรจากที่อื่นเข้ามาใช้ประโยชน์ ในการท่องเที่ยว และจับสัตว์น้ำ","open_date":"เรียนรู้ป่าเสม็ดโบราณและพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับชาติ ณ บึงสำนักใหญ่ สวนพฤกษศาสตร์ระยอง แหล่งรวมความหลากหลายทางชีวภาพและแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิตชุมชนตำบลชากพง อำเภอแกลง จังหวัดระยอง สามารถเลือกกิจกรรมการเรียนรู้ได้หลากหลาย อาทิเช่น เดิน\/ปั่นจักรยานตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติ พายเรือคายัค นั่งเรือชมพรรณไม้น้ำ แพหญ้า และชมนกน้ำที่อาศัยในบึงกว้าง","latitude":"12.6426","longitude":"101.556","address":" ม.2","tambon":"ชากพง","ampher":"แกลง","province":"ระยอง ","zipcode":"21190","tel":"038 638 880-1","email":"rayongbg@gmail.com","website":"https:\/\/www.facebook.com\/RayongBotanicalKnowledge","bg_path":"rayongbotanic","bg_lang":"th","pic":"2021-11-05_11-12-07_2 (17).jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/rayongbotanic\/pic\/profile_upload\/2021-11-05_11-12-07_2 (17).jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"RYBG_blue.png","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-20 03:15:48"},{"museum_code":"132","museum_name":"พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านตำบลคลองกระจง U2T ","description":"พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านตำบลคลองกระจง เป็นศูนย์การเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเกี่ยวกับตำบลคลองกระจง ที่ตั้งอยู่ในโรงเรียนวัดคลองกระจง ตำบลคลองกระจง อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย โดยผู้ริเริ่มสร้างพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ขึ้นมาคือ ครูภิรมย์ กาวิละนันท์ (ครูโรงเรียนวัดคลองกระจง) โดยมีจุดประสงค์ เพื่อต้องการสร้างแหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ของท้องถิ่นให้กับนักเรียนโรงเรียนวัดคลองกระจงและชาวบ้านในพื้นที่ และในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 โครงการ U2T (1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ได้เข้ามาปรับปรุงและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ให้มีความเป็นมาตรฐานและสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น\r\n \r\n","open_date":"เปิดทำการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.00 น. - 15.30 น. เข้าชมฟรี \r\n","latitude":"17.252","longitude":"99.8433","address":"หมู่ที่ 8","tambon":"คลองกระจง","ampher":"สวรรคโลก","province":"สุโขทัย ","zipcode":"64110","tel":"","email":"museum.khlongkrachong@gmail.com","website":"","bg_path":"KhlongKrachong","bg_lang":"th","pic":"2021-12-05_08-51-17_0FE1EBDC-4EFE-46D2-ADD1-598CCE52C02F.jpeg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/KhlongKrachong\/pic\/profile_upload\/2021-12-05_08-51-17_0FE1EBDC-4EFE-46D2-ADD1-598CCE52C02F.jpeg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"wp-config.php","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2025-05-06 02:36:28"},{"museum_code":"133","museum_name":"ป่าสาคู อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง","description":"ต้นสาคูนั้นเป็นพืชที่อยู่คู่กับชาวบ้านมาอย่างยาวนานตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ มีความสำคัญต่อคนในพื้นที่เป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นพืชที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ทั้งต้น ไม่ว่าจะเพื่อการดำรงชีพ เพื่อสร้างรายได้ในเชิงเศรษฐกิจ และเพื่อรักษาระบบนิเวศป่าให้สมบูรณ์ \r\nป่าสาคูจึงเป็นเหมือนป่าโกงกางน้ำจืดที่มีความสำคัญ โดยป่าสาคูที่อำเภอนาโยงนั้นก็ถือได้ว่าเป็นพื้นที่ที่มีความสมบูรณ์ที่สุดในปัจจุบัน","open_date":"สำหรับผู้ที่มีความสนใจต้องการเข้าเยี่ยมชม และเรียนรู้ในพื้นที่ทางวัฒนธรรมป่าสาคู อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง สามารถเข้าเยี่ยมชมได้ที่ “ศูนย์เรียนรู้อนุรักษ์ป่าสาคูเชิงนิเวศน์” ","latitude":"7.50896","longitude":"99.7167","address":" ","tambon":"920804","ampher":"950","province":"ตรัง ","zipcode":"92170","tel":"081 - 9580028 (ผู้ใหญ่เธียรชัย โออินทร์)","email":"mr.aiboo@gmail.com","website":"","bg_path":"SagoTrang","bg_lang":"th","pic":"2021-11-11_11-40-53_sago-trang-9109-750x500.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/SagoTrang\/pic\/profile_upload\/2021-11-11_11-40-53_sago-trang-9109-750x500.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-11-23 01:17:50"},{"museum_code":"134","museum_name":"ภูมิปัญญาวัฒนธรรมจาก ชุมชนบางใบไม้ จ.สุราษฎร์ธานี","description":"ชุมชนบางใบไม้ถูกก่อตั้งขึ้นในราว ๆ ปี พ.ศ.2312 มีลักษณะพื้นที่เป็นเกาะ มีแหล่งป่าไม้และคลองขนาดเล็กจำนวนกว่าร้อยสายเชื่อมโยงกันไหลออกสู่แม่น้ำตาปี ตำแหน่งที่อยู่ปัจจุบันของชุมชนนี้คือ บ้านหมื่นล่าง หมู่ที่1 ตำบลบางใบไม้ เป็นชุมชนเล็ก ๆ ในเขตอำเภอเมือง จ.สุราษฎร์ธานี อยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ 3 กิโลเมตร ในสมัยก่อนนิยมสัญจรโดยใช้เรือ และเมื่อมีการสร้างสะพานข้ามแม่น้ำตาปี วิถีชุมชนจึงเปลี่ยนไปเป็นวิถีท่องเที่ยวริมน้ำ \r\nด้วยภูมิศาสตร์ของตำบลบางใบไม้ที่อยู่ใกล้อ่าวบ้านดอน ทำให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพ และยังเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำที่ได้รับอิทธิพลทั้งจากน้ำจืดและน้ำทะเล อาชีพของคนในตำบลบางใบไม้จึงมีทั้งอาชีพทำสวนและทำประมง ","open_date":"","latitude":"9.15323","longitude":"99.2958","address":"","tambon":"บางใบไม้","ampher":"เมืองสุราษฎร์ธานี","province":"สุราษฎร์ธานี ","zipcode":"84000","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"BangBaiMai","bg_lang":"th","pic":"2021-10-22_20-33-55_image_big_613eb739d553a.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/BangBaiMai\/pic\/profile_upload\/2021-10-22_20-33-55_image_big_613eb739d553a.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"DqmGELyX0AAdU8o.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2023-02-21 04:01:55"},{"museum_code":"135","museum_name":"อุทยานกองทัพสมเด็จพระนเรศวรมหาราช","description":"อุทยานกองทัพสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นแหล่งการท่องเที่ยวและการเรียนรู้ ตั้งอยู่ที่ ต.เมืองงาย อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ มีระยะทางห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ประมาณ 80 กิโลเมตร ซึ่งพื้นที่ที่อุทยานฯ ตั้งอยู่ เป็นพื้นที่ทางประวัติศาสตร์ที่มีความเก่าแก่มากว่า 800 ปี ","open_date":"นัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้าเยี่ยมชม","latitude":"19.4302","longitude":"98.9732","address":"329 ","tambon":"เมืองงาย","ampher":"เชียงดาว","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"50170","tel":"081-882-8584 (อาจารย์อัญเชิญ โกฎแก้ว) ","email":"","website":"","bg_path":"NaresuanPark","bg_lang":"th","pic":"2021-10-25_23-09-54_DSC02648.JPG","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/NaresuanPark\/pic\/profile_upload\/2021-10-25_23-09-54_DSC02648.JPG","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-11-25 10:21:42"},{"museum_code":"136","museum_name":"ชุมชนบ้านบาตร","description":"ชุมชนเก่าแก่แห่งหนึ่งในเกาะรัตนโกสินทร์เป็นชุมชนแห่งแรกและแห่งเดียวที่ยึดอาชีพบาตรทำมือ โดยอพยพมากจากกรุงศรีอยุธยาได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนในสมัยที่รัชกาลที่ 1 ทรงสถาปนากรุงเทพมหานครขึ้นเป็นราชธานี โดยนำเอาความรู้ดั้งเดิมในเรื่องของการทำบาตรมาประกอบเป็นอาชีพ โดยยึดหลักกระบวนการทำบาตรดั้งเดิมสืบทอดกันมา คือการต่อเหล็กและตีขึ้นเป็นรูปบาตรด้วยมือ เรียกกันว่า\"บาตรบุ\" บาตรของชุมชนบ้านบาตรนั้นตีขึ้นอย่างถูกต้องตามพระธรรมวินัยกำหนดจึงประกอบด้วยคุณค่าที่ผสานฝีมือแรงงานและเป็นคุณค่าทางจิตใจ","open_date":"","latitude":"13.7503","longitude":"100.506","address":"ซอยบ้านบาตร","tambon":"แขวงบ้านบาตร","ampher":"เขตป้อมปราบศัตรู","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10100","tel":"085-919-2607,086-104-9639,099-224-7864","email":"","website":"https:\/\/www.citu.tu.ac.th\/","bg_path":"BanBat","bg_lang":"th","pic":"2021-10-20_15-13-01_S__11018257.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/BanBat\/pic\/profile_upload\/2021-10-20_15-13-01_S__11018257.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-11-24 10:50:56"},{"museum_code":"137","museum_name":"บ้านหมอ","description":"อำเภอบ้านหมอ ตั้งอยู่บริเวณทางตะวันตกของจังหวัดสระบุรี เป็นพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ำ และมีความชื้นสูง ดินบริเวณนี้เป็นดินดำ หรือดินภูเขาไฟที่มีแร่ธาตุมากเหมาะแก่การทำการเกษตร ชาวบ้านในพื้นที่จึงปลูกพืชตามฤดูกาลและนิยมปลูกผักหวานป่าแทรก เนื่องจากผักหวานนั้นปลูกง่ายในดินที่มีความชื้นและสามารถปลูกร่วมกับพืชชนิดอื่นได้ โดยผักหวานป่าสามารถปลูกและเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ตลอดทั้งปี \r\nผักหวานจากอำเภอบ้านหมอยังเป็นผักหวานพันธุ์เก่าแก่ที่ปลูกกันมาเป็นระยะเวลายาวนานกว่า 80 ปี ชาวบ้านบริเวณนี้ยังมีภูมิปัญญาและองค์ความรู้ในการปรับสภาพดินและเทคนิควิธีในการปลูกผักหวานที่ไม่เหมือนการปลูกผักชนิดอื่นเนื่องจากผักหวานเมื่อโดนสารเคมีจะไม่สามารถขยายพันธุ์ได้อีก ด้วยภูมิปัญญาที่สั่งสมมาเป็นระยะเวลานานส่งผลให้ อำเภอบ้านหมอเป็นแหล่งปลูกผักหวานที่ใหญ่ที่สุดในภาคกลาง ผักหวานป่ากลายมาเป็นวัตถุดิบหลักในการประกอบอาหารของชาวอำเภอบ้านหมอ ไม่ว่าจะเป็นของคาว หรือของหวาน และเป็นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตของชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในอำเภอนี้\r\n \r\n โดยแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับผักหวานที่สำคัญ ได้แก่สวนผักหวานป่า ผอ.ป๊อก ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้เชิงเกษตรเกี่ยวกับผักหวานแห่งเดียวใน จังหวัดสระบุรี โดยนอกจากมีการให้ความรู้เชิงเกษตรแล้ว ยังมีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากผักหวาน ครัวผักหวาน และพื้นที่สำหรับนักท่องเที่ยวในการถ่ายรูป","open_date":"เวลาเปิดทำการ - ทุกวัน จันทร์-อาทิตย์\r\nการเดินทาง - ควรเดินทางด้วยรถส่วนตัว เนื่องจากอยู่ภายในพื้นที่ไกลจากถนนใหญ่\r\nการเตรียมตัว - หากต้องการเที่ยวชม ควรพกร่มหรือสวมหมวก เนื่องจากอากาศค่อนข้างร้อน","latitude":"0","longitude":"0","address":"100 หมู่ 4","tambon":"สร่างโศก","ampher":"บ้านหมอ","province":"สระบุรี","zipcode":"18130","tel":"081 285 7615","email":"younium1958@gmail.com","website":"https:\/\/family-restaurant-476.business.site\/?m=true&fbclid=IwAR37Vpzr_PXPXG4rfXVOKEtLZ0VNo1kAuTONz6Da18DmFoItWz0JVyHU-Uo","bg_path":"BanMo","bg_lang":"th","pic":"2021-11-08_22-12-38_S__134684701.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/BanMo\/pic\/profile_upload\/2021-11-08_22-12-38_S__134684701.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"S__134684701.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-21 03:56:18"},{"museum_code":"138","museum_name":"ชุมชนลาวเวียง บ้านหาดสองแคว","description":"ชุมชนลาวเวียง ณ บ้านหาดสองแคว ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านหาดสองแคว ตําบลหาดสองแคว อำเภอ ตรอน จังหวัด อุดรดิตถ์ \r\n\r\nบรรพบุรุษของชาวลาวเวียง ได้ย้ายมาจากเมืองเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาอยู่ในประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 และได้ตั้งชื่อหมู่บ้านขึ้นตามลักษณะภูมิประเทศที่ตั้งอยู่ในขณะนั้น ซึ่งเป็นทางออกของลําน้ำสองสายที่ไหลมาบรรจบกัน คือ แม่น้ำน่าน กับคลองตรอน เกิดเป็นสันทรายยื่นออกมาเป็นแนวยาวตลอดหมู่บ้าน จึงเรียกบริเวณนี้ว่า “บ้านหาดสองแคว” ชาวเรือที่เดินทางผ่านมาจึงมักจะค้างแรมบริเวณหาดทรายแห่งนี้ ทําให้ชาวบ้านมีอาชีพเสริมและรายได้ดี","open_date":"","latitude":"100.111","longitude":"17.4283","address":"","tambon":"หาดสองแคว","ampher":"ตรอน","province":"อุตรดิตถ์ ","zipcode":"","tel":"055-496098","email":"hardsongkwase@gmail.com","website":"https:\/\/www.laosviengstyle.com\/","bg_path":"Laosvieng","bg_lang":"th","pic":"2021-11-06_22-57-04_janhun5.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/Laosvieng\/pic\/profile_upload\/2021-11-06_22-57-04_janhun5.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-11-12 05:39:06"},{"museum_code":"139","museum_name":"ภูมิปัญญาวัฒนธรรมขนมต้มสามเหลี่ยม","description":"ขนมต้ม ขนมต้มสามเหลี่ยม ข้าวต้มสามเหลี่ยม หรือข้าวต้มลูกโยน เป็นขนมที่นิยมทำกันในบริเวณพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย ในเทศกาลสำคัญต่าง ๆ เช่น เทศการชักพระ ที่จะจัดขึ้นในช่วงออกพรรษา โดยขนมต้มถือเป็นสัญลักษณ์ของการทำบุญตักบาตรร่วมกัน ","open_date":"","latitude":"7.0058","longitude":"100.492","address":"-","tambon":"-","ampher":"หาดใหญ่","province":"สงขลา ","zipcode":"90110","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"Nhomtom","bg_lang":"th","pic":"2021-11-10_21-59-23_91E2008308_5600_thum.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/Nhomtom\/pic\/profile_upload\/2021-11-10_21-59-23_91E2008308_5600_thum.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-11-25 09:14:54"},{"museum_code":"14","museum_name":"ชุมชนวัดจำปา","description":"“ชุมชนวัดจำปา” หรือบางคนอาจรู้จักกันในชื่อ “ชุมชนเกาะศาลเจ้า” เป็นชุมชนเก่าแก่กว่า 100 ปี ตั้งอยู่ริมคลองบางระมาดในพื้นที่เขตตลิ่งชัน โดยบริเวณชุมชนเกาะศาลเจ้ามีลักษณะเป็นเกาะมีคลองล้อมรอบ ได้แก่ คลองบางระมาด คลองบ้านไทร และคลอดลัดวัดจำปา\r\n\r\nที่มาของชื่อ \"เกาะศาลเจ้า\" มาจากภูมิประเทศที่เป็นจุดบรรจบของคลองบางระมาดและคลองบ้านไทร เป็นที่ตั้งของศาลเจ้าพ่อจุ้ย คำว่า “จุ้ย” มาจากภาษาจีนแปลว่า “น้ำ” หมายถึงสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบ้านเลื่อมใสศรัทธา ปกป้องผู้คนจากอันตรายที่ทางน้ำ จึงตั้งชื่อชุมชนว่า \"เกาะศาลเจ้า\"\r\n\r\nสถานที่สำคัญของชุมชน ได้แก่ วัดจำปาเป็นวัดเก่าแก่สมัยกรุงศรีอยุธยา ภายในวัดมีโบสถ์เก่าประมาณ 200 กว่าปี สถาปัตยกรรมของตัวโบสถ์เป็นแบบที่นิยมสร้างกันสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เรียกทรงวิลันดา วัดจำปา เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างมีผลงานดีเด่นที่ได้รับรางวัลมากมายมาย ในวัดมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ว่ากันว่าใครได้ไปสักการะจะโชคดีคือหลวงพ่อโชคดี พระประธานในโบสถ์วัดจำปา \r\n\r\nความสำคัญของชุมชนวัดจำปาอีกอย่างหนึ่งคือเป็นชุมชนที่รวมศิลปวิทยาการที่เป็นฝีมือของชาวบ้านมากมาย เช่น งานแทงหยวก บ้านหว่างจันทร์ งานทำแป้งพวงและเครื่องหอม งานสานทางมะพร้าว คุณป้าวิภา เป็นต้น","open_date":"- รถประจำทาง สาย 123 , 124, 515 ลงป้ายซอยโรงเรียนโพธิสาร ต่อสองแถวไปวัดจำปา\r\n- MRT บางขุนนนท์ และต่อรถสองแถวไปวัดจำปา\r\n- ทางรถส่วนตัว ทางถนนบรมราชชนนี เข้าถนนพุทธมณฑลสาย1 เข้าวัดจำปา เดินไปเกาะศาลเจ้า \r\n- ทางเรือ มีเรือมาจากตลาดน้ำตลิ่งชันหรือตลาดน้ำคลองลัดมะยม","latitude":"13.7755","longitude":"100.437","address":" 187 ซ.บรมราชชนนี 79 \r\n","tambon":"101903","ampher":"19","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10170","tel":"0894950988","email":"","website":"","bg_path":"watjambpaa","bg_lang":"th","pic":"2022-11-17_01-47-44_Untitled-2.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/watjambpaa\/pic\/profile_upload\/2022-11-17_01-47-44_Untitled-2.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2019-10-03 16:17:42"},{"museum_code":"140","museum_name":"บ้านขามป้อม","description":"วิถีชีวิตของคนอุบลราชธานี เป็นชาวบ้านสังคมเกษตรกรรมที่ยึดถือฮีตสิบสองเป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิต มีการตั้งถิ่นฐานใกล้แม่น้ำ ประกอบอาชีพทำนา หาอาหารตามธรรมชาติ ซึ่งวิถีชีวิตทั่วไปของชาวอุบลราชธานี จะประกอบอาชีพ ทำนา ทำไร่ เป็นต้น\r\nคนอุบลราชธานีส่วนใหญ่ มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารโดยรับประทานอาหารที่หาได้จากแหล่งธรรมชาติ","open_date":"","latitude":"15.963","longitude":"105.177","address":"","tambon":"ขามป้อม","ampher":"เขมราฐ","province":"อุบลราชธานี ","zipcode":"34170","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"BanKhamPom","bg_lang":"th","pic":"2021-11-08_11-37-03_68CCD947-C52B-40ED-9545-F63DFE93EDF1.jpeg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/BanKhamPom\/pic\/profile_upload\/2021-11-08_11-37-03_68CCD947-C52B-40ED-9545-F63DFE93EDF1.jpeg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-11-25 09:55:10"},{"museum_code":"141","museum_name":"ดอกเยอบีร่า ชุมชนวัดโพธิ์เรียง","description":"การปลูกดอกเยอบีร่ามีมาตั้งแต่ในสมัยอดีต ตั้งแต่ยังไม่ได้แบ่งเป็นชุมชนในพื้นที่ต่าง ๆ พื้นที่เดิมเป็นสวนมีความเกี่ยวโยงกับฝั่งธนบุรี ในย่านตลิ่งชันมามากกว่า 60 ปีมาแล้ว เป็นพื้นที่ทำกินในครอบครัว เส้นทางการคมนาคมเป็นคลองทำให้มีการลำเลียงขนส่งต่าง ๆ บริเวณที่ใกล้กับพื้นที่ปากคลองตลาดซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมไม้ดอก ไม้ประดับ มีการขายดอกเยอบีร่าไปในหลากหลายที่ทั้งในกรุงเทพมหานคร และต่างจังหวัด มีการตัดต่อพันธุ์กรรมพันธุ์ดอกเยอบีร่า เช่น พันธุ์แดงถูกแทง โดยปลูกในพื้นเดิมซึ่งเป็นสวนผลไม้ ต่อมามีการขยายพื้นที่ความเป็นเมืองมากขึ้นในชุมชนทำให้การทำการเกษตรดอกเยอบีร่าค่อย ๆ สูญหายไป \r\nชุมชนวัดโพธิ์เรียงนั้นเป็นพื้นที่แรกที่ปลูกเยอบีร่า ต่อมาประชากรเข้ามาปลูกบ้านเรือนในชุมชนมากขึ้น ทำให้การปลูกดอกเยอบีร่ามีการแพร่ขยายไปบริเวณพื้นที่ตลิ่งชัน และมีการปลูกมากขึ้นในพื้นที่ย่านบางกอกน้อย","open_date":"เราลองมาทำความรู้จักดอกเยอบีร่าไปพร้อมๆ กันดีกว่า","latitude":"13.7464","longitude":"100.473","address":" - ชุมชนโพธิ์เรียง","tambon":"แขวงบ้านช่างหล่อ","ampher":"เขตบางกอกน้อย","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10700","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"WatPhoRiang","bg_lang":"th","pic":"2021-11-11_16-50-19_99121F36-A928-49C6-90C8-60AD0BBB6866.jpeg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/WatPhoRiang\/pic\/profile_upload\/2021-11-11_16-50-19_99121F36-A928-49C6-90C8-60AD0BBB6866.jpeg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-22 09:22:15"},{"museum_code":"142","museum_name":"ชุมชนบ้านห้วยหีบ","description":"ชุมชนภูไทบ้านห้วยหีบ อำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร เป็นชาวภูไทวังกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอพยพมาจากฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในช่วงสมัยรัชกาลที่ 3 หลังจากการรุกรานของจีนฮ่อและประสบกับภาวะฝนแล้งเผชิญความอดอยาก นายฮ่มจึงพาเพื่อนและชาวบ้านกว่า 10 ครอบครัว อพยพตามลำน้ำโขงตอนล่าง มาสร้างหลักปักฐานในป่าบริเวณใกล้ลำห้วย อยู่มาวันหนึ่งชาวบ้านได้พากันออกหาปลาแล้วบังเอิญพบหีบใบหนึ่งทรงสี่เหลี่ยมในลำห้วย ชาวบ้านได้พยายามยกหีบใบนั้นอยู่นาน แต่ก็ไม่สามารถยกขึ้นได้ จึงเชื่อว่ามีภูตผี เทวดาอารักษ์อยู่ หีบใบนั้นได้ปรากฏขึ้นอีกหลายครั้งและหายไปแบบไร้สาเหตุ ชาวบ้านจึงเรียกลำห้วยแห่งนี้ว่าห้วยหีบ เพื่อความเป็นสิริมงคลจนถึงปัจจุบัน สิ่งที่ตามมาจากการอพยพครั้งนั้นมิได้มีเพียงผู้คน แต่กลับนำภาษา วัฒนธรรม วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณี และความเชื่อตามแบบของชาวภูไทมาด้วย ซึ่งชุมชนบ้านห้วยหีบยังคงมีกลิ่นอายของวัฒนธรรมภูไทแบบดั้งเดิมอยู่มาก หากไม่มีการเก็บรวบรวมข้อมูล องค์ความรู้ต่าง ๆ จากคนในชุมชนเพื่อการอนุรักษ์ วัฒนธรรมภูไทแบบดั้งเดิมนี้ก็อาจสูญหายไปตามกาลเวลา\r\n","open_date":"หมู่บ้านวัฒนธรรมผู้ไท ที่ดำรงไว้ซึ่งวัฒนธรรมอย่างเหนียวแน่น มีอัตลักษณ์เป็นของตนเองที่โดดเด่น","latitude":"17.0145","longitude":"104.294","address":"","tambon":"ตองโขบ","ampher":"โคกศรีสุพรรณ","province":"สกลนคร ","zipcode":"47280","tel":"096 124 5348","email":"","website":"","bg_path":"BanHuayHeep","bg_lang":"th","pic":"2021-11-03_15-46-36_LINE_ALBUM_211103.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/BanHuayHeep\/pic\/profile_upload\/2021-11-03_15-46-36_LINE_ALBUM_211103.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-11-25 01:52:39"},{"museum_code":"143","museum_name":"ชุมชนเครื่องเบญจรงค์ดอนไก่ดี","description":"หมู่บ้านเบญจรงค์ดอนไก่ดี ตำบลดอนไก่ดี อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร เป็นหนึ่งในหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP โดยมีผลิตภัณฑ์เครื่องเบญจรงค์ที่มีคุณภาพดี เป็นชุมชนที่มีความเข้มแข็ง และ เป็นที่กล่าวขานในการผลิตเครื่องเบญจรงค์ของ จ.สมุทรสาคร นอกจากนี้หมู่บ้านเบญจรงค์ดอนไก่ดียังได้รับการยกย่องให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ศิลปะชั้นสูง ซึ่งมีการสะท้อนเอกลักษณ์ความเป็นไทยที่งดงามออกมาในหลากหลายรูปแบบ หลากหลายแขนง และ หนึ่งในผลงานชิ้นเอกของสถานที่แห่งนี้คือ เครื่องชามเบญจรงค์ เดิมที “เบญจรงค์” มีความหมายว่า ห้าสี ชามเบญจรงค์ จึงหมายถึง ชามที่เขียนด้วยสีห้าสี แต่ปัจจุบันมีมากถึงสิบสี ภายในบ้านดอนไก่ดีจะมีการจัดกิจกรรมให้นักท่องเที่ยวได้ศึกษา และ เรียนรู้ขั้นตอนการทำเครื่องเบญจรงค์อย่างละเอียด อีกทั้งยังเปิดโอกาสให้ผู้มาเยือนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง โดยเริ่มต้นตั้งแต่การเลือกเครื่องปั้นขาวเนื้อดี หลังจากนั้นจึงนำมาวาดลวดลายไทย และ ลงสีสันเพื่อเพิ่มความสวยงาม เสร็จแล้วจึงนำเครื่องเบญจรงค์เข้าเตาเผา ซึ่งใช้เวลาประมาณครึ่งวัน เนื่องจากการอบสีเป็นขั้นตอนที่ต้องใช้ความละเอียด และ ความระมัดระวังเป็นพิเศษ เพื่อที่จะได้เครื่องเบญจรงค์ที่ออกมาสวยงามที่สุด และ มากไปกว่านั้นทางชุมชนบ้านดอนไก่ดียังมีชิ้นงานอื่น ๆ ที่ประยุกต์ให้เข้ากับยุคสมัยนอกเหนือจากถ้วย ชาม อีกด้วย เช่น เครื่องประดับ ลำโพง ชุดกาแฟ ชุดแจกัน ชุดโถ และ อื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งชิ้นงานเหล่านี้ล้วนเคยได้รับรางวัลมาแล้วมากมายเช่นกัน นอกจากจะเป็นกิจกรรมที่สร้างสรรค์แล้วยังถือว่าเป็นสิ่งที่ทำให้นักท่องเที่ยวได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ความเป็นไทยอีกด้วย\r\n\r\n\r\n","open_date":"","latitude":"13.737","longitude":"100.204","address":"32","tambon":"ดอนไก่ดี","ampher":"กระทุ่มแบน","province":"สมุทรสาคร ","zipcode":"74110","tel":"","email":"","website":"https:\/\/www.citu.tu.ac.th\/","bg_path":"DonKaiDee","bg_lang":"th","pic":"2021-10-26_21-59-18_S__20931123.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/DonKaiDee\/pic\/profile_upload\/2021-10-26_21-59-18_S__20931123.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-11-23 09:30:52"},{"museum_code":"144","museum_name":"ร้านอาหารครัวกุ๊กหมู","description":"ร้านอาหารที่ขายอาหารที่มีส่วนประกอบมาจากชะคราม โดยเป็นร้านเก่าแก่ของจังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งเป็นหนึ่งในร้านที่ได้ออกรายการครัวคุณต๋อยอีกด้วย","open_date":"ทุกคน","latitude":"13.5138","longitude":"100.302","address":"4 16 ถนนสหกรณ์","tambon":"โคกขาม","ampher":"เมือง","province":"สมุทรสาคร ","zipcode":"74000","tel":"0860501317","email":"","website":"","bg_path":"ChaKram","bg_lang":"th","pic":"2021-11-01_15-55-57_chakhram-10.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/ChaKram\/pic\/profile_upload\/2021-11-01_15-55-57_chakhram-10.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-12-08 12:02:51"},{"museum_code":"145","museum_name":"เครื่องทองเหลือง ชุมชนจะบังติกอ","description":"ชุมชนจะบังติกอ เคยเป็นพื้นที่ศูนย์กลางทางการปกครองท้องถิ่น โดยเป็นที่อยู่อาศัยของเจ้าเมืองปัตตานีในสมัยพุทธศักราช 2388 – 2445 หรือเรียกว่า วังเก่าจะบังติกอ และเป็นศูนย์กลางท้องถิ่นที่อยู่อาศัยของเจ้าเมือง ชนชั้นสูง จึงทำให้เกิดการผลิตเครื่องเรือน เครื่องใช้ต่าง ๆ ที่มีความสวยงาม ฉะนั้นได้เริ่มมีการผลิตเครื่องทองเหลืองให้แก่ชนชั้นสูง เจ้านาย เจ้าเมืองที่อยู่ในวังใช้เป็นเวลานาน โดยมีช่างฝีมือดีจำนวนมากมารวมตัวอยู่ที่นี่ วัง (เก่า) จะบังติกอจึงเปรียบเสมือนแหล่งผลิตเครื่องทองเหลืองที่ใหญ่ที่สุดในสมัยนั้น","open_date":"เปิดทำการทุกวัน จันทร์ - อาทิตย์","latitude":"6.85675","longitude":"101.258","address":"ถนนหน้าวัง","tambon":"จะบังติกอ","ampher":"เมืองปัตตานี","province":"ปัตตานี ","zipcode":"94000","tel":"","email":"","website":"https:\/\/www.pattanicity.go.th\/frontpage","bg_path":"JaBangTiKor","bg_lang":"th","pic":"2021-10-26_16-07-59_S__5111823.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/JaBangTiKor\/pic\/profile_upload\/2021-10-26_16-07-59_S__5111823.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-11-24 02:21:33"},{"museum_code":"146","museum_name":"ชุมชนบ้านบิง","description":"ตำบลบิงตั้งอยู่บนที่ราบสูงโคราช อยู่ทางทิศใต้ของอำเภอโนนสูง และตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดนครราชสีมา เป็น 1 ใน 18 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา โดยคำว่า บิง เป็นคำเพี้ยนมาจากคำว่าบิง จากภาษาเขมร ที่แปลว่าต้นหว้า ซึ่งมีมากในพื้นที่ จึงได้ใช้เป็นชื่อตำบลมาจนถึงปัจจุบัน โดยกระทรวงมหาดไทยได้ยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดเล็กเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดกลาง เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2551 โดยพื้นเพเดิมของชาวบ้าน เป็นชาวไทยโคราช อยู่กันมาตั้งแต่เดิมหลายชั่วอายุคนและมีภาษาถิ่นเป็นภาษาโคราช มีความเป็นอยู่แบบสังคมชนบท การตั้งถิ่นฐานของชาวบ้าน ในอดีตนั้นตำบลบิงเป็นป่าทึบ สัตว์ป่าอาศัยอยู่มากมาย \r\nปัจจุบันชุมชนบ้านบิงนั้นมีจำนวนผู้สูงอายุ คิดเป็น 1 ใน 3 ของประชากรทั้งหมด โดยการประกอบอาชีพหลักนั้นคือ การรวมกลุ่มกันเพื่อทำไม้กวาด ทั้งไม้กวาดทางมะพร้าวและไม้กวาดดอกหญ้า แล้วนำไปขายเพื่อสร้างรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุในชุมชน รวมถึงมีการส่งต่อความรู้ให้กับคนรุ่นใหม่ในชุมชน ซึ่งในการทำไม้กวาดนั้นก็เป็นการนำผลผลิตจากธรรมชาติในชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์","open_date":"","latitude":"15.1282","longitude":"102.309","address":"9","tambon":"ตำบลบิง","ampher":"อำเภอโนนสูง","province":"นครราชสีมา ","zipcode":"30160","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"BaanBingBloom","bg_lang":"th","pic":"2021-11-08_05-01-31_507A24DE-F6F5-49A6-A920-37A9E295030A.jpeg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/BaanBingBloom\/pic\/profile_upload\/2021-11-08_05-01-31_507A24DE-F6F5-49A6-A920-37A9E295030A.jpeg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-11-11 05:09:13"},{"museum_code":"147","museum_name":"พิพิธภัณฑ์มานุษยวิทยาวัฒนธรรม สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล","description":"พิพิธภัณฑ์มานุษยวิทยาวัฒนธรรม สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"ชั้น 1 อาคารภาษาและวัฒนธรรมสยามบรมราชกุมารี สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล เลขที่ 999","tambon":"ศาลายา","ampher":"พุทธมณฑล","province":"นครปฐม ","zipcode":"73170","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"vividethnic","bg_lang":"th","pic":"2021-10-26_15-00-00_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/vividethnic\/pic\/profile_upload\/2021-10-26_15-00-00_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-11-22 04:01:19"},{"museum_code":"148","museum_name":"พิพิธภัณฑ์มานุษยวิทยาวัฒนธรรม สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล","description":"พิพิธภัณฑ์มานุษยวิทยาวัฒนธรรม สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล พันธกิจหลัก คือ การเรียนรู้วัฒนธรรมชาติพันธุ์ และสร้างนวัตกรรมเพื่อประโยชน์สุขของเพื่อนมนุษย์\r\nพิพิธภัณฑ์จัดนิทรรศการถาวรแสดงพิพัฒนาการทางวิชาการของสถาบันฯ ในการศึกษาเรียนรู้วิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ให้เข้าใจชีวิตและจิตใจของกลุ่มชาติพันธุ์อย่างถ่องแท้ \r\nเนื้อหาในนิทรรศการมุ่งสนทนาอย่างมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ชม ด้วยการจำลองหมู่บ้านชาติพันธุ์มานำเสนอเรื่องราววิถีชีวิตประจำวันทั้งในทางที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้ของกลุ่มชาติพันธุ์ ผู้ชมสามารถเรียนรู้ อดีต ปัจจุบัน และตั้งคำถามถึงความท้าทายในอนาคต เรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมแบบพหุมิติ ทั้งในสถานที่จริงและระบบปฏิบัติการดิจิทัล เพื่อสร้างความหมายใหม่ของประสบการณ์อย่างรวดเร็ว รอบด้าน\r\n\r\nนิทรรศการพิเศษ “วิวิธชาติพันธุ์” ของพิพิธภัณฑ์มานุษยวิทยาวัฒนธรรม เป็นนิทรรศการเคลื่อนที่ในลักษะรถคาราวาน ออกสัญจรแลกเปลี่ยนความรู้ ทักษะ และความหมายของประสบการณ์ด้านวัฒนธรรมชาติพันธุ์ ด้วยกระบวนการเรียนรู้เชิงปฏิสัมพันธ์แบบมีส่วนร่วมผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 6 เพื่อให้ผู้คนได้เข้าใจเรื่องความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม เคารพซึ่งกันและกัน และมีความภาคภูมิใจในชาติพันธุ์ของตนเอง\r\nการจัดนิทรรศการใช้กระบวนการมีส่วนร่วม (co-curation) ของ นักวิชาการ เจ้าของวัฒนธรรม และผู้ชม โดยเน้น ทรรศนียมิติของเจ้าของวัฒนธรรมเป็นศูนย์กลาง (emic perspective)\r\nวิวิธชาติพันธุ์ เป็นนิทรรศการที่มีพลวัตและมีความยืดหยุ่นสูง สามารถจัดแสดงตามสถานการณ์และความประสงค์ของผู้เรียน \r\n\r\nลวดลายของ “วิวิธชาติพันธุ์” ได้แรงบันดาลใจจากตระกูลภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย จำนวน 5 ตระกูล ได้แก่ ชาวกะเหรี่ยง จากตระกูลจีน-ธิเบต, ชาวละว้า จากตระกูลมอญ-เขมร, ชาวไทดำ จากตระกูลไท-กะได, ชาวมอเก็น จากตระกูลออสโตนีเซียน และชาวเย้า จากตระกูลม้ง-เมี่ยน ลวดลายที่แตกต่างหลากหลายเหล่านี้ สื่อใจความสำคัญของนิทรรศการ เรื่อง บูรณภาพทางวัฒนธรรม \r\n\r\nนิทรรศการวิวิธชาติพันธุ์ ยังมีร้านจำหน่ายสินค้า iCraft จากหัตถกรรมฝีมือประณีตของแท้ดั้งเดิมของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ อาทิ ย่ามกะวา ย่ามพ้อเลป่า ลูกปัดและเครื่องประดับชาวลัวะ และมุมกาแฟ iCoffee ให้แขกได้ดื่มกาแฟ ที่ปลูกโดยกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ เช่น ลัวะ ปกากะญอ ม้ง ขมุ ลาหู่ ผู้ชมจะได้นั่งพักผ่อน สนทนาวิสาสะกัน พร้อมทำความเข้าใจภูมิสังคมของผู้ปลูกกาแฟกลุ่มต่าง ๆ รายได้จากการจำหน่ายสินค้าและเครื่องดื่มจะนำไปบำรุงพิพิธภัณฑ์ฯ และคืนกลับสู่กลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ \r\n\r\nพิพิธภัณฑ์ยังมีบทบาทยังเป็นพื้นที่ฝึกปฏิบัติงานด้านพิพิธภัณฑสถานของนักศึกษาและบุคลากรทางพิพิธภัณฑ์ ที่บูรณาการงานด้านการเรียนการสอน การวิจัย และการสร้างความผูกพันกับสังคมอย่างเป็นองค์รวม","open_date":"เปิดทำการวันจันทร์ - ศุกร์","latitude":"13.791","longitude":"100.323","address":"อยู่ ชั้น 1 อาคารภาษาและวัฒนธรรมสยามบรมราชกุมารี สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล เลขที่ 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4","tambon":"ศาลายา","ampher":"พุทธมณฑล","province":"นครปฐม ","zipcode":"73170","tel":"0868398822","email":"iculture408@gmail.com","website":"https:\/\/museumlc.mahidol.ac.th\/","bg_path":"museumlc","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-01-10 07:56:39"},{"museum_code":"149","museum_name":"ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม สถาบันวิจัยและพัฒนาชายแดนภาคใต้ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา","description":" ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปฏิบัติภารกิจทางด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ตามความในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติ วิทยาลัยครู พ.ศ. 2518 ต่อมาได้มีการจัดตั้งเป็นศูนย์ตามประกาศระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยศูนย์วัฒนธรรม พ.ศ. 2524 ตั้งศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดยะลาไปพร้อม ๆ กันด้วย นับจากมีการใช้พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2528 สถาบันราชภัฏยะลาเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มีภารกิจหลัก 6 ประการ และหนึ่งในภารกิจดังกล่าวนั้น คือ การ “ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม”โดยมีชื่อประกาศจัดตั้งเป็น “สำนักศิลปวัฒนธรรม” และเมื่อได้รับการสถาปนาเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2547 ภารกิจในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ในฐานะเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่นจังหวัดชายแดนใต้ โดยมุ่งเน้นด้านการวิจัยภูมิปัญญาท้องถิ่นและส่งเสริมเผยแพร่วัฒนธรรมท้องถิ่นและของชาติ ภารกิจดังกล่าว สำนักศิลปวัฒนธรรมจึงได้เปลี่ยนเป็น “ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม” มีอาคารเฉพาะตั้งอยู่หน้าอาคาร 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาในปัจจุบัน ซึ่งได้เข้าอยู่ เป็นทางการเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2548 และในปีต่อมา ได้มีการปรับเปลี่ยนตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ ณ วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2549 เรื่องการแบ่งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา ประกอบกับ ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา ในวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2549 เรื่อง การจัดโครงสร้าง การบริหารงานภายในมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมจึงได้เข้ามาเป็นหน่วยงานหนึ่งของสถาบันวิจัยและพัฒนาชายแดนภาคใต้ ตราบจนทุกวันนี้ ในปัจจุบัน ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ได้ดำเนินการร่วมกับศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดยะลา และ หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น ซึ่งมีคณะกรรมการชุดเดียวกัน \r\n\r\n หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น สืบเนื่องจากคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2527 ว่าด้วยหลักการของแผนพัฒนาการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม โดยมุ่งเน้นพัฒนาวิธีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมให้เป็นระบบ และจัดตั้งหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมท้องถิ่น ภายในศูนย์ศิลปวัฒนธรรม ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ. 2546 ได้มีการปรับชื่อ จากเดิมชื่อ หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมท้องถิ่น มาเป็น หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น มีทั้งหมด 75 จังหวัด (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) ตั้งอยู่ที่โรงเรียน 42 แห่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏ 30 แห่ง และสถาบันการพลศึกษา 3 แห่ง จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ประชาชนในท้องถิ่นได้ตระหนักและเข้าใจถึงความสำคัญของสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม รวมทั้ง เป็นหน่วยงานดูแลและตรวจสอบเพื่อป้องกันมิให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"133 ถ.เทศบาล 3 ","tambon":"สะเตง","ampher":"เมือง","province":"ยะลา ","zipcode":"95000","tel":"073-299699 ต่อ 33000","email":"cultureyru@yru.ac.th","website":"srdi.yru.ac.th\/culture","bg_path":"cultureyru","bg_lang":"th","pic":"2021-12-17_14-06-51_LINE_ALBUM_141264_๒๑๑๒๑๗_4.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/cultureyru\/pic\/profile_upload\/2021-12-17_14-06-51_LINE_ALBUM_141264_๒๑๑๒๑๗_4.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-12-17 02:03:32"},{"museum_code":"15","museum_name":"ป่าชุมชนเมืองสวนป่าเกดน้อมเกล้า","description":"สวนป่าเกดน้อมเกล้า อยู่ในพื้นที่ของตำบลทรงคนอง เป็นหนึ่งในพื้นที่สีเขียวของโครงการสวนกลางมหานคร ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) ที่ทรงต้องการอนุรักษ์ธรรมชาติบริเวณคุ้งบางกะเจ้าทั้ง 6 ตำบล ของอำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อสร้างเสริมสนับสนุนให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวสีเขียว และเป็นปอดให้คนกรุงเทพฯ ในรูปแบบป่าชุมชนเมือง ภายในสวนป่าเกดน้อมเกล้า มีการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ พันธุ์พืชต่างๆ กว่า 100 สายพันธุ์ และนกกว่า 30 ชนิด รวมถึงกิจกรรมต่างๆ อีกมากมาย จนกลายเป็นแหล่งเรียนรู้นอกตำราให้กับนักเรียน และนักศึกษา โดยชาวบ้านในชุมชนจะเข้ามาเป็นวิทยากรสอนในเรื่องการทำปุ๋ยหมัก ย้อมผ้าจากต้นไม้ใบไม้ที่ร่วมกันปลูก อาหารไทย ขนมไทยที่เก็บวัตถุดิบจากในสวน และเรียนรู้การปลูกพืช และต้นไม้ท้องถิ่น เช่น ต้นคัก ต้นจิกน้ำ ต้นพิลังกาสา และต้นจาก เป็นต้น","open_date":"","latitude":"13.6675","longitude":"100.558","address":"10\/3 หมู่ 2","tambon":"ทรงคนอง","ampher":"พระประแดง","province":"สมุทรปราการ ","zipcode":"10130","tel":"0861010704","email":"","website":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/BangKrachao\/site\/theme\/index.php","bg_path":"BangKrachao","bg_lang":"th","pic":"2020-11-25_21-59-40_590121.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/BangKrachao\/pic\/profile_upload\/2020-11-25_21-59-40_590121.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"Screen Shot 2562-11-09 at 16.16.08.png","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2019-10-03 16:18:50"},{"museum_code":"16","museum_name":"ชุมชนถนนเเปลงนาม เยาวราช","description":"\"ถนนแปลงนาม\" เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในย่านเยาวราช ในท้องที่แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ เดิมมีชื่อว่า \"ตรอกป่าช้าหมาเน่า\" เป็นถนนเส้นสั้น ๆ ระยะประมาณ 100 เมตร เชื่อมระหว่างถนนเจริญกรุงและถนนเยาวราช อยู่ตรงข้ามกับถนนพลับพลาไชย และอยู่ใกล้กับถนนผดุงด้าว หรือซอยเท็กซัส โดยอยู่ก่อนถึงแยกหมอมีจากถนนเจริญกรุง สาเหตุที่เรียกว่า ตรอกป่าช้าหมาเน่า เนื่องมาจาก ในอดีตพื้นที่ของตรอกนี้คือจุดทิ้งขยะของย่านเยาวราช ใครที่ผ่านตรอกนี้ก็จะพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า เหม็นเหมือนกลิ่นหมาเน่าหรือซากศพเน่า ต่อมาได้มีการตัดถนนเยาวราช ทางการได้เข้าปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและกำจัดขยะออกไป และเปลี่ยนชื่อให้เป็นมงคลเป็น ซอยแปลงนาม และปรับปรุงขยายเป็นถนนในเวลาต่อมา โดยบริเวณถนนแปลงนามนี้มีชาวไทยเชื้อสายจีนอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก และเป็นย่านการค้า ซึ่งในชุมชนถนนแปลงนามนี้มีของต่าง ๆ ที่ขึ้นชื่อมากมาย เช่น ร้านหมั่งหมิงที่แรกในเยาวราช,เครื่องดนตรีจีน, ตะเกียงเจ้าพายุและของเก่า, เครื่องครัวจีน ในส่วนของร้านอาหารมีหลายอย่างที่หลากหลาย เช่น รังนกและหูฉลาม, หมูสะเต๊ะ, ข้าวต้มและอาหารตามสั่ง, ข้าวหมูแดง, ขนมจีบ, พระรามลงสรง และเป็นที่ตั้งของวัดมงคลสมาคม (อักษรเวียดนาม: Chùa Hội Khánh; อักษรจีน: 會慶寺) ศาสนสถานในพุทธศาสนาแบบอนัมนิกาย ","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"ถนน แปลงนาม","tambon":"แขวง สัมพันธวงศ์","ampher":"เขต สัมพันธวงศ์","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10100","tel":"086-8862471","email":"","website":"","bg_path":"Plaengnam","bg_lang":"th","pic":"2019-11-05_23-39-10_ชุมชน ถนนแปลงนาม.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/Plaengnam\/pic\/profile_upload\/2019-11-05_23-39-10_ชุมชน ถนนแปลงนาม.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2019-10-03 16:21:06"},{"museum_code":"161","museum_name":"พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยเบิ้งโคกสลุง","description":"พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยเบิ้งโคกสลุง ก่อตั้งขึ้นจากแรงบันดาลใจของชาวบ้าน โดยผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านได้ร่วมกันหาแนวทาง ในการฟื้นประเพณีและวัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวไทยเบิ้งขึ้นมาใหม่ \r\n\r\nเพื่อให้ชาวบ้านได้ระลึกถึงวัฒนธรรมพื้นบ้านของบรรพบุรุษชาวไทยเบิ้งในตำบลโคกสลุง \r\n\r\n\r\n\r\n\r\n\r\n พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยเบิ้งโคกสลุง ก่อตั้งขึ้นจากแรงบันดาลใจของชาวบ้าน โดยผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านได้ร่วมกันหาแนวทางในการฟื้นประเพณีและวัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวไทยเบิ้งขึ้นมาใหม่ เพื่อให้ชาวบ้านได้ระลึกถึงวัฒนธรรมพื้นบ้านของบรรพบุรุษชาวไทยเบิ้งในตำบลโคกสลุง \r\nพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยเบิ้งโคกสลุงก่อตั้งขึ้นจากแรงบันดาลใจของชาวบ้าน โดยผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านได้ร่วมกันหาแนวทางในการฟื้นประเพณีและวัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวไทยเบิ้งขึ้นมาใหม่ เพื่อให้ชาวบ้านได้ระลึกถึงวัฒนธรรมพื้นบ้านของบรรพบุรุษชาวไทยเบิ้งในตำบลโคกสลุง \r\nพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยเบิ้งโคกสลุงก่อตั้งขึ้นจากแรงบันดาลใจของชาวบ้าน โดยผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านได้ร่วมกันหาแนวทางในการฟื้นประเพณีและวัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวไทยเบิ้งขึ้นมาใหม่ เพื่อให้ชาวบ้านได้ระลึกถึงวัฒนธรรมพื้นบ้านของบรรพบุรุษชาวไทยเบิ้งในตำบลโคกสลุง \r\n","open_date":"พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยเบิ้งโคกสลุงก่อตั้งขึ้นจากแรงบันดาลใจของชาวบ้าน โดยผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านได้ร่วมกันหาแนวทางในการฟื้นประเพณีและวัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวไทยเบิ้งขึ้นมาใหม่ เพื่อให้ชาวบ้านได้ระลึกถึงวัฒนธรรมพื้นบ้านของบรรพบุรุษชาวไทยเบิ้งในตำบลโคกสลุง \r\nพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยเบิ้งโคกสลุงก่อตั้งขึ้นจากแรงบันดาลใจของชาวบ้าน โดยผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านได้ร่วมกันหาแนวทางในการฟื้นประเพณีและวัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวไทยเบิ้งขึ้นมาใหม่ เพื่อให้ชาวบ้านได้ระลึกถึงวัฒนธรรมพื้นบ้านของบรรพบุรุษชาวไทยเบิ้งในตำบลโคกสลุง \r\nพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยเบิ้งโคกสลุงก่อตั้งขึ้นจากแรงบันดาลใจของชาวบ้าน โดยผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านได้ร่วมกันหาแนวทางในการฟื้นประเพณีและวัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวไทยเบิ้งขึ้นมาใหม่ เพื่อให้ชาวบ้านได้ระลึกถึงวัฒนธรรมพื้นบ้านของบรรพบุรุษชาวไทยเบิ้งในตำบลโคกสลุง \r\nพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยเบิ้งโคกสลุงก่อตั้งขึ้นจากแรงบันดาลใจของชาวบ้าน โดยผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านได้ร่วมกันหาแนวทางในการฟื้นประเพณีและวัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวไทยเบิ้งขึ้นมาใหม่ เพื่อให้ชาวบ้านได้ระลึกถึงวัฒนธรรมพื้นบ้านของบรรพบุรุษชาวไทยเบิ้งในตำบลโคกสลุง ","latitude":"14.9881","longitude":"101.019","address":" เลขที่ 99\/3 หมู่ 3 ","tambon":"160205","ampher":"98","province":"ลพบุรี ","zipcode":"","tel":"084-978-6782","email":"","website":"https:\/\/thaibuengkhoksalung.com\/","bg_path":"musemultilanguage","bg_lang":"th","pic":"2023-01-11_09-01-07_Thepnimit_animation0001.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/musemultilanguage\/pic\/profile_upload\/2023-01-11_09-01-07_Thepnimit_animation0001.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-01-26 11:02:39"},{"museum_code":"168","museum_name":"เส้นทางการค้าสุวรรณภูมิในจังหวัดชุมพร-ระนอง","description":"เส้นทางการค้าสุวรรณภูมิคือเส้นทางติดต่อของอารยธรรมโบราณที่เข้ามาพร้อมกับพ่อค้า-นักเดินทางระยะไกล ที่นำร่องรอยความเชื่อทางพุทธศาสนาเข้ามาด้วยในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือที่ชาวอนุทวีปรู้จักกันในนามดินแดนสุวรรณภูมิ ในยุคสมัยที่เรียกว่ากันทั่วไปว่ายุคเหล็กหรือปัจจุบันเรียกขานว่ายุคสุวรรณภูมิอยู่ในห้วงเวลาราวพุทธศตวรรษที่ ๑-๗ โดยช่วงเวลาดังกล่าวมีกิจกรรมการผลิตและขนส่งสินค้ากับผู้คนหลากหลาย ทั้งจากทางฝั่งทะเลอันดามันและอ่าวไทย และมีการอยู่อาศัยมากที่สุดอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ ๒-๗. \r\n\r\nโครงการนี้เน้นเก็บข้อมูลสถานที่และสิ่งของที่เกี่ยวข้องกับเส้นทางสุวรรณภูมิภายในจังหวัดชุมพรและระนอง โดยแหล่งที่มาของข้อมูลคือผลการวิจัยจากโครงการพัฒนาแพลตฟอร์มด้านปัญญาประดิษฐ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวประวัติศาสตร์สู่จักรวาลนฤมิตรและแหล่งข้อมูลอื่น ๆ ที่เชื่อถือได้\r\n\r\nข้อมูลในหน้าเว็บนี้จะเป็นข้อมูลรับเข้าให้กับระบบสร้างกราฟความรู้สำหรับแพลตฟอร์มสกัดความรู้จากข้อความ เป็นกราฟความรู้ สำหรับข้อมูลประวัติศาสตร์เส้นทางการค้าสุวรรณภูมิ เพื่อสร้างสารานุกรมออนไลน์ (LSTPedia) และคลังข้อมูลกราฟความรู้ (https:\/\/lstpedia.org\/)\r\n","open_date":"","latitude":"14.0778","longitude":"100.601","address":" 112","tambon":"130201","ampher":"67","province":"ปทุมธานี ","zipcode":"12120","tel":"","email":"","website":"https:\/\/www.nectec.or.th","bg_path":"Chumphon_Ranong_Official","bg_lang":"th","pic":"2023-03-28_15-38-54_suwan_1.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/Chumphon_Ranong_Official\/pic\/profile_upload\/2023-03-28_15-38-54_suwan_1.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-28 10:55:34"},{"museum_code":"169","museum_name":"ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ","description":"Chumphon Ranong Community","open_date":"","latitude":"14.0778","longitude":"100.601","address":" 112","tambon":"130201","ampher":"67","province":"ปทุมธานี ","zipcode":"12120","tel":"","email":"","website":"https:\/\/www.nectec.or.th","bg_path":"Chumphon_Ranong_Community","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-28 10:59:06"},{"museum_code":"17","museum_name":"ชุมชนตลาดน้ำสองคลอง วัดตลิ่งชัน","description":"เรือนไทยจากกระดาษ\r\nเรือนไทยจากบ้านกระดาษเป็นงานสถาปัตยกรรมจำลองจากกระดาษ หรือเปเปอร์ โมเดล (Paper Model) เป็นที่นิยมของชาวต่างชาติมานานแล้ว ลักษณะของการสร้างเรือนไทยเสมือนการสร้างเรือนไทยจริงๆในขนาดที่เล็กลง ส่วนคนไทยมีแฟนพันธุ์แท้ที่ชื่นชอบงานประเภทนี้เพิ่มจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ แต่ลักษณะหรือรูปแบบโมเดลที่ประดิษฐ์กันอยู่ เรือนไทยเป็นมรดกทางวัฒนธรรมการอยู่อาศัยที่สืบทอดมายาวนาน ในอดีตนั้นพบได้ทั่วไปตามภาคกลางของไทย ลักษณะที่สำคัญ คือ เป็นเรือนไม้ ยกพื้นสูง หลังคาทรงสูง ชานกว้าง ชายคายื่นยาว มีเหงาปั้นลมเป็นเอกลักษณ์ของบ้านภาคกลาง\r\nในการทำบ้านเรือนไทยจากกระดาษต้องอาศัยทักษะในด้านศิลปะ ความแม่นยำ และสมาธิ ในการสร้างขึ้นมาเนื่องจากเป็นงานที่ปราณีตและต้องใช้เวลาในการทำชิ้นงานให้สำเร็จ\r\n\r\nลักษณะของบ้านเรือนไทย\r\n ลักษณะบ้านของผู้มีฐานะ หรือ คหบดีจะสร้างบ้านเรือนเป็นหมู่ ประกอบด้วยเรือนหลายหลังมีชานแล่นติดต่อกัน เรือนแต่ละหลังใช้เป็นที่อยู่ของคนในตระกูล โดยมีเรือนพ่อแม่เป็นประธานซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าทุกเรือน เรือนทุกหลังหันเข้าหากัน\r\n ลักษณะบ้านของผู้มีฐานะปานกลาง เมื่อแยกออกจากตระกูลไปจะสร้างเรือนหลังคาเดี่ยวหรือเรือนหลังคาคู่เป็นประธานไว้ก่อน ต่อเมื่อมีลูกหลานก็จะขยายเรือนเป็นหมู่\r\n เรือนไทย ได้ถูกออกแบบมาให้เหมาะสมกับดินฟเาอากาศของประเทศไทย มีความงดงาม ฝีมือ การสร้างประณีต มีประโยชน์ใช้สอยเหมาะกับวิถีชีวิตคนไทยในสมัยก่อนอย่างแท้จริง","open_date":"เปิดให้เข้าชมทุกวัน","latitude":"18.7693","longitude":"99.0825","address":"111 วัดตลิ่งชัน ถนนชักพระ แขวงคลองชักพระ","tambon":"ตลิ่งชัน","ampher":"ตลิ่งชัน","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10170","tel":"0909279142","email":"market2klong@outlook.com","website":"https:\/\/floating-market-28.business.site","bg_path":"klong2floatingM","bg_lang":"th","pic":"2019-11-09_15-15-58_S__231366667.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/klong2floatingM\/pic\/profile_upload\/2019-11-09_15-15-58_S__231366667.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"S__231366667.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2019-10-04 10:36:17"},{"museum_code":"170","museum_name":"ศูนย์การเรียนรู้เฮือนหลวงมหาวรรณ์","description":"ศูนย์การเรียนรู้เฮือนหลวงมหาวรรณ์ เป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่า ไม่ว่าจะเป็นศาสตราวุธ เงินตรา หรือข้าวของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน ที่แสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการของชุมชนบ้านหลวงนับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน \r\nศูนย์การเรียนรู้เฮือนหลวงมหาวรรณ์ ตั้งอยู่ที่ หมู่ 6 บ้านหลวง ตำบลโหล่งขอด อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบไปด้วยอาคารสำคัญ 3 หลัง จัดแสดงสิ่งของเครื่องใช้ที่บ่งบอกถึงเรื่องราวทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาในชุมชนบ้านหลวง ได้แก่ เรือนพิพิธภัณฑ์เครื่องถ้วย เรือนพิพิธภัณฑ์ผ้า และเรือนพิพิธภัณฑ์เฮือนหลวงมหาวรรณ์ \r\nสามารถเข้าเยี่ยมชมโดยแบ่งลำดับตามช่วงอายุของสิ่งของที่จัดแสดงได้ ดังนี้ หนึ่ง ยุคก่อนประวัติศาสตร์ สอง ยุคประวัติศาสตร์ สาม ยุคการตั้งชุมชน โดยในแต่ละยุคจะแบ่งสิ่งของจัดแสดงออกเป็นหมวดหมู่สำคัญคร่าว ๆ เช่น วิถีชีวิตและภูมิปัญญา ความเชื่อและศาสนา เงินตรา การค้าขาย และข้าวของเครื่องใช้ เป็นต้น\r\n\r\n\r\n","open_date":"ติดต่อทาง Facebook ก่อนเยี่ยมชม","latitude":"19.0814","longitude":"99.1742","address":" 170 ม.6","tambon":"501111","ampher":"578","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"50190","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"MahawanMuseum","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":null,"updated_at":"2022-08-24 10:53:41"},{"museum_code":"171","museum_name":"สถาบันการเรียนรู้ของคนทุกช่วงวัยจังหวัดระยอง","description":"สถาบันการเรียนรู้ของคนทุกช่วงวัยจังหวัดระยอง","open_date":"","latitude":"12.682","longitude":"101.23","address":"140","tambon":"เนินพระ","ampher":"เมือง","province":"ระยอง ","zipcode":"21000","tel":"0-3861-7430","email":"info@rayongrila.ac.th","website":"www.rayongrila.ac.th","bg_path":"rayongrila","bg_lang":"th","pic":"2022-05-09_09-00-53_278209296_142792484947841_6621020472072267636_n.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/rayongrila\/pic\/profile_upload\/2022-05-09_09-00-53_278209296_142792484947841_6621020472072267636_n.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-07-17 10:55:17"},{"museum_code":"172","museum_name":"จังหวัดชลบุรี","description":"พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยเบิ้งโคกสลุงก่อตั้งขึ้นจากแรงบันดาลใจของชาวบ้าน โดยผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านได้ร่วมกันหาแนวทางในการฟื้นประเพณีและวัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวไทยเบิ้งขึ้นมาใหม่ เพื่อให้ชาวบ้านได้ระลึกถึงวัฒนธรรมพื้นบ้านของบรรพบุรุษชาวไทยเบิ้งในตำบลโคกสลุง \r\n","open_date":"ติดต่อสอบถามล่วงหน้า","latitude":"14.9881","longitude":"101.019","address":" เลขที่ 99\/3 หมู่ 3","tambon":"160205","ampher":"98","province":"ลพบุรี ","zipcode":"15140","tel":"084-978-6782","email":"test@gmail.com","website":"https:\/\/thaibuengkhoksalung.com\/","bg_path":"navanurak_demo","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"LINE_ALBUM_220921_32.jpeg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-11-08 11:18:14"},{"museum_code":"18","museum_name":"ชุมชนวัดประยูรวงศาวาส","description":"ประวัติการก่อตั้งและที่มา\r\nชุมชนวัดประยูรวงศ์เดิมเป็นพื้นที่ว่างเปล่า ต่อมาได้มีการใช้พื้นที่ในการเพาะปลูกสวนกาแฟอาราบิก้าโดยเริ่มมีการเข้ามาก่อนสมัยรัชกาลที่ ๓ อีกทั้งสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ได้มอบที่ดินเพื่อใช้เป็นพื้นที่ในการสร้างวัดนั่นก็คือ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร ในปีพ.ศ.๒๓๗๑ และยังเป็นชุมชนวัดประยูรศ์เป็นชุมชนที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติและศาสนาโดยคนในชุมชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ คริสต์ และศาสนาอิสลาม \r\n\tชุมชนวัดประยูรวงศ์ ตั้งอยู่ในเขตธนบุรี ซึ่งเป็นชุมชนประเภทแออัด ประกาศเป็นชุมชนที่จัดตั้งตามระเบียบกรุงเทพมหานครเมื่อปี ๒๕๓๕ ชุมชนตั้งอยู่ที่ ถ.ประชาธิปก ถนน เทศบาลสาย ๑ แขวง วัดกัลยาณ์ ซึ่งเป็นกลุ่มเขต ๕. กลุ่มกรุงธนเหนือ \r\n\tชุมชนวัดประยูรวงศ์ มีวัฒนธรรมที่มีความเป็นเอกลักษณ์ แสดงถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ รวมถึงเป็นเครื่องมือดำรงชีพของคนในชุมชนที่แสดงออกผ่านขนบธรรมเนียม ประเพณี หรืองานศิลปะแขนงต่าง ๆ เช่น งานประดิษฐกรรมบ้านหมูกระดาษ หากแต่วัฒนธรรมที่ได้รับการสืบทอดมาตลอดช่วงเวลาหลายปี กำลังจะสูญหายไป เนื่องจากเยาวชนรุ่นใหม่ในชุมชนไม่ได้ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญรวมไปถึงอิทธิพลจากวัฒนธรรมอื่นๆภายนอกที่ส่งผลกระทบต่อวัฒนธรรมภายในชุมชนวัดประยูรวงศ์อีกด้วยเช่นกัน\r\nวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่เชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า ฝั่งธนบุรี สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ) ครั้งดำรงตำแหน่งเจ้าพระยาคลัง มีศรัทธาแรงกล้าในพระบวรพุทธศาสนา อุทิศสวนกาแฟ ณ ตำบลกุฎีจีน สถาปนาขึ้นเป็นพระอาราม เมื่อปีชวด สัมฤทธิศก จุลศักราช ๑๑๙๐ (พุทธศักราช ๒๓๗๑) เพื่อถวายพระราชกุศลแด่สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินีและกรมหลวงนรินทรเทวี และอุทิศกุศลแด่เจ้าคุณพระราชพันธุ์ชั้นที่ ๑ (นวล) ผู้เป็นมารดา และถวายเป็นพระอารามหลวง โดยได้รับพระราชทานชื่อจากพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อพุทธศักราช ๒๓๙๓ ว่า “วัดประยุรวงศาวาส” อันมีความหมายว่า “พุทธสถานแห่งวงศ์พระประยูรญาติ”\r\n","open_date":"สามารถจอดรถภายในวัดประยูรวงศาวาส และเดินเข้าซอยไปจะเจอกับร้านกระปุกออมสินหมูกระดาษ","latitude":"13.7372","longitude":"100.496","address":"24 ถนน ประชาธิปก","tambon":"วัดกัลยาณ์","ampher":"ธนบุรี","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10600","tel":"080 977 6563","email":"","website":"","bg_path":"watprayurawongsawas","bg_lang":"th","pic":"2019-11-05_14-41-03_21576239-CA4D-42C9-99C7-6EE13CB3CF57.JPG","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/watprayurawongsawas\/pic\/profile_upload\/2019-11-05_14-41-03_21576239-CA4D-42C9-99C7-6EE13CB3CF57.JPG","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2019-10-04 10:38:10"},{"museum_code":"189","museum_name":"พื้นที่สงวนชีวมณฑลระนอง","description":"\tพื้นที่สงวนชีวมณฑลจังหวัดระนอง ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมือง ทิศเหนือจรดคลองระนอง และปากน้ำระนอง ทิศใต้จรดทะเลอันดามันและคลองทรายขาว ทิศตะวันออกจรดอุทยานแห่งชาติน้ำตกหงาว ทิศตะวันตกจรดทะเลอันดามัน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหงาว และบางส่วนของตำบลปากน้ำ ตำบลบางริ้น และตำบลราชส ภาพพื้นที่ป่าชายเลนยังมีสภาพสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่ง ของประเทศไทย มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 303.09 ตารางกิโลเมตร หรือ 189,431 ไร่ ซึ่งเป็นป่าชายเลนผืนใหญ่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง รัฐบาลไทยจึงได้จัดทำโครงการร่วมกับประเทศสมาชิกยูเนสโก้ประกาศพื้นที่ชายฝั่งบริเวณนี้เป็นเขตสงวนชีวมลฑลโลก (International Coastal and Marine Biosphere Reserve) ซึ่งเป็นแห่งที่ 4 ของประเทศไทย โดยมีจุดประสงค์หลักเพื่อเป็นที่สงวนความหลากหลายทางธรรมชาติ โดยพื้นที่ของชายฝั่งเกิดจากการจมตัวของชายฝั่งทะเลอันเนื่องมาจากการ เกิดรอยเลื่อน (fault) ต่าง ๆ ในบริเวณคาบสมุทร ทำให้เกิดพื้นที่ดินเลนกว้างขวาง และได้รับอิทธิพลจากการท่วมถึงของน้ำทะเลเป็นประจำจน กลายเป็นป่าชายเลนในเวลาต่อมา มีน้ำขึ้นลงวันละ 2 ครั้ง แบบน้ำคู่ (Semi-diurnal tide)","open_date":"","latitude":"13.8621","longitude":"100.58","address":" 99","tambon":"130201","ampher":"67","province":"ปทุมธานี ","zipcode":"12120","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"PM_DMCR","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-05-03 09:57:05"},{"museum_code":"19","museum_name":"พิพิธภัณฑ์ยุวกาชาดไทย1","description":"พิพิธภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ยุวกาชาด ดำเนินการโดยสำนักการลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน กระทรวงศึกษาธิการ ได้ถูกพัฒนาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยในการเก็บรวบรวมสิ่งของต่าง ๆ \r\nเพื่อประโยชน์ในการศึกษา และเผยแพร่ข้อมูลอันเป็นเนื้อหาสาระสำคัญ รวมถึงกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ และเหมาะสมต่อสมาชิกยุวกาชาดและผู้ที่สนใจ ให้สามารถเข้าถึงและค้นหาข้อมูลได้โดยง่าย อีกทั้งยัง เผยแพร่ข้อมูลได้กว้างและน่าสนใจมากยิ่งขึ้น","open_date":"กรุณาติดต่อสอบถามล่วงหน้าเท่านั้น","latitude":"14.0208","longitude":"100.525","address":"1\/23 อาคารเสมารักษ์ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ถนนราชดำเนินนอก1","tambon":"ดุสิต","ampher":"ดุสิต","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10300","tel":"053-0000000","email":"mail@gmail.com","website":" anurak.in.th","bg_path":"muse_master","bg_lang":"th","pic":"2021-10-06_15-02-51_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/muse_master\/pic\/profile_upload\/2021-10-06_15-02-51_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-23 03:04:07"},{"museum_code":"190","museum_name":"EEC Travel In Chachoengsao","description":"อบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพอย่างยั่งยืน\r\nโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้กับโรงเรียน\r\nในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) จังหวัดฉะเชิงเทรา","open_date":"","latitude":"13.7911","longitude":"100.932","address":" ","tambon":"","ampher":"","province":"ฉะเชิงเทรา ","zipcode":"","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"EECTravelInChachoengsao","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2024-01-31 12:22:56"},{"museum_code":"191","museum_name":"EEC Travel With Sattahipwittakom School","description":"หลักสูตรการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพอย่างยั่งยืน\r\nโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้กับโรงเรียน\r\nในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ","open_date":"นักเรียน นักศึกษา นักท่องเที่ยว บุคคลทั่วไป","latitude":"12.8171","longitude":"100.917","address":" 181 ม.9","tambon":"200902","ampher":"144","province":"ชลบุรี ","zipcode":"20250","tel":"038299","email":"","website":"https:\/\/www.sw.ac.th","bg_path":"EECTravelInChonburi","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2024-01-31 12:23:51"},{"museum_code":"192","museum_name":"EEC Travel In Rayong","description":"อบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพอย่างยั่งยืน\r\nโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้กับโรงเรียน\r\nในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ","open_date":"","latitude":"14.9881","longitude":"101.019","address":" ","tambon":"","ampher":"","province":"ระยอง ","zipcode":"","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"EECTravelInRayong","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2024-01-31 08:51:32"},{"museum_code":"193","museum_name":"อำเภอวังจันทร์","description":"อำเภอวังจันทร์ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดระยอง \r\n\r\nวังจันทร์ เป็นชื่อหมู่บ้านหนึ่งในตำบลกระแสบน อำเภอแกลง ในปี พ.ศ. 2516 ทางราชการเห็นว่าพื้นที่ด้านเหนือของตำบลกระแสบนมีพื้นที่กว้างขวาง อยู่ไกลท้องที่ทุรกันดาร และห่างไกลจากตัวอำเภอ จึงแยกพื้นที่หมู่บ้านในตำบลกระแสบน ได้แก่ หมู่ 7–9, 13–15 (ในขณะนั้น) ตั้งเป็นตำบลวังจันทร์ และพื้นที่หมู่ 6, 10–12, 16 (ในขณะนั้น) ตั้งเป็นตำบลชุมแสง ปี พ.ศ. 2520 เมื่อพื้นที่ทั้ง 2 ตำบลมีความเจริญมากขึ้น จึงแนะนำประชุมชี้แจงร่วมกับทางอำเภอแกลง รายงานต่อกระทรวงมหาดไทย และเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน จึงประกาศแยกพื้นที่อำเภอแกลง ได้แก่ ตำบลชุมแสง และตำบลวังจันทร์ ตั้งเป็นกิ่งอำเภอวังจันทร์ โดยตั้งที่ว่าการกิ่งอำเภอและศูนย์ราชการต่างๆ ของทางกิ่งอำเภอในพื้นที่หมู่ 4 บ้านสำนักพริก ซึ่งอยู่ติดกับพื้นที่หมู่ 1 บ้านชุมแสง ตำบลชุมแสง เนื่องจากมีสภาพชุมชนและชุมนุมการค้าหนาแน่น และเป็นศูนย์กลางด้านการคมนาคม (ตั้งอยู่ในเขตของสุขาภิบาลชุมแสง)\r\n\r\nในปี พ.ศ. 2522 ทางราชการได้แบ่งแยกพื้นที่ 5 หมู่บ้านของตำบลชุมแสง มาจัดตั้งเป็น ตำบลป่ายุบใน ต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะขึ้นเป็นอำเภอ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยลงวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2534 โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 16 มิถุนายน ปีเดียวกัน และแบ่งแยกพื้นที่ 5 หมู่บ้านของตำบลวังจันทร์ มาจัดตั้งเป็น ตำบลพลงตาเอี่ยม ในปี พ.ศ. 2534 เป็นตำบลลำดับสุดท้ายของทางอำเภอ\r\n","open_date":"","latitude":"12.9864","longitude":"101.502","address":" ","tambon":"210402","ampher":"154","province":"ระยอง ","zipcode":"","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"wangchan","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2024-02-12 09:12:14"},{"museum_code":"194","museum_name":"ชุมชนปากน้ำประแส","description":"ชุมชนปากน้ำประแส ตั้งอยู่ตำบลปากน้ำประแส อำเภอแกลง จังหวัดระยอง เป็นชุมชนเก่าแก่ที่มีวิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวเลและชาวสวนมะพร้าว ชุมชนแห่งนี้ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำประแสที่ไหลลงสู่ทะเลอ่าวไทย ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมง เลี้ยงกุ้ง เลี้ยงปลา และทำสวนมะพร้าว\r\n\r\nจุดเด่นของชุมชนปากน้ำประแส อยู่ที่วิถีชีวิตที่เรียบง่าย อาหารทะเลสดๆ และธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ นักท่องเที่ยวที่มาเยือนชุมชนแห่งนี้สามารถสัมผัสวิถีชีวิตชาวเลดั้งเดิม เรียนรู้การทำประมง เลี้ยงกุ้ง เลี้ยงปลา ชิมอาหารทะเลสดๆ และเที่ยวชมป่าชายเลน","open_date":"","latitude":"12.7364","longitude":"101.684","address":" ","tambon":"210313","ampher":"153","province":"ระยอง ","zipcode":"","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"prasae","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"owi.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2024-02-12 09:15:18"},{"museum_code":"195","museum_name":"EEC Travel Teacher","description":"อบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพอย่างยั่งยืน\r\nโครงการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้กับโรงเรียน\r\nในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ","open_date":"","latitude":"14.9881","longitude":"101.019","address":" ","tambon":"200199","ampher":"136","province":"ชลบุรี ","zipcode":"","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"EECTravelTeacher","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2024-02-16 13:21:49"},{"museum_code":"20","museum_name":"พิพิธภัณฑ์วัดปงสนุก","description":"พิพิธภัณฑ์วัดปงสนุกมีจุดเริ่มจากการเก็บรวบรวมงานโบราณวัตถุศิลปวัตถุที่ปรากฎภายในวัดปงสนุกเหนือ โดยพระครูโสภิตขันตยาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดปงสนุกด้านเหนือประมาณ 50 กว่าปีที่ผ่านมา ทำให้งานพุทธศิลป์ต่างๆ ที่ครูบาโนได้สร้างไว้ยังคงถูกเก็บรักษาไว้ภายในวัดปงสนุกเหนือเป็นอย่างดี จนต่อมาพระน้อย นรตฺตโม ผู้ช่วยเจ้าอาวาส และอาจารย์อนุกูล ศิริพันธุ์ คนในชุมชนบ้านปงสนุก ได้เล็งเห็นถึงคุณค่าและความสำคัญของมรดกทางวัฒนธรรมเหล่านี้ จึงได้มีการศึกษาทั้งในรูปแบบลวดลาย การนำไปใช้งานต่างๆ รวมไปถึงประวัติในการสร้างงานพุทธศิลป์ชิ้นนั้นๆ เพื่อนำข้อมูลเหล่านี้มาจัดเป็นระบบฐานข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรมที่มีภายในชุมชน และจึงได้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์งานศิลป์เมืองละกอน วัดปงสนุกเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง","open_date":"เปิดทำการ วันอังคาร - วันอาทิตย์","latitude":"18.2949","longitude":"99.4972","address":"60","tambon":"เวียงเหนือ","ampher":"เมือง","province":"ลำปาง ","zipcode":"52000","tel":"087-1151095","email":"pingpong_095@hotmail.com","website":"","bg_path":"watpongsanook","bg_lang":"th","pic":"2019-02-14_13-23-23_thumb-lpg008-04-l.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/watpongsanook\/pic\/profile_upload\/2019-02-14_13-23-23_thumb-lpg008-04-l.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"watermark.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2018-07-23 15:16:38"},{"museum_code":"21","museum_name":"ศาลาพิพิธภัณฑ์วัดโสภณาราม","description":"วัดโสภณาราม ตำบลดอนแก้ว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ เดิมมีชื่อว่า “ วัดป่าตึง ” เพราะรอบบริเวณวัดที่ตั้งอยู่ปัจจุบันนี้ มีต้นไม้ตึง (ไม้เต็ง,ไม้รัง) ขึ้นอยู่หนาแน่นมาก พอภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง ไม้ตึงเหล่านั้นก็ถูกตัดลง เพื่อนำไปใช้เป็นหมอนรางรถไฟ และฟืนรถไฟจนเกือบจะไม่มีเหลือให้เห็น\r\n\r\nเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2 438 ได้มีพระธุดงค์รูปหนึ่งทราบชื่อว่า นันตา “ ครูบานันตา ” (ไม่ทราบฉายา) ได้จาริกเดินทางมาปักกลดอยู่ทางทิศเหนือของวัด (ปัจจุบันนี้เป็นที่ตั้งของกองพันสัตว์ต่าง) ชาวบ้านต่างมีความเลื่อมใสศรัทธาในครูบารูปนี้มาก จึงได้นิมนต์ท่านอยู่จำพรรษา และเริ่มสร้างอารามชั่วคราวให้ท่านอยู่ เพราะตอนนั้นบริเวณแห่งนี้ยังไม่ได้กำหนดเป็นวัด เมื่อศรัทธาสาธุชน จะทำบุญกุศลต้องไปทำบุญที่วัดอื่น ซึ่งอยู่ห่างไกลจากหมู่บ้านมาก การเดินทางก็ไม่สะดวก\r\n\r\nและอารามที่สร้างขึ้นใหม่นั้น เมื่อถึงฤดูฝน มักจะถูกน้ำป่าไหลมาท่วมทุกปี ชาวบ้านจึงได้ทำการย้ายจากสถานที่เดิม มาก่อสร้างยังสถานที่ใหม่ใน (คือบริเวณที่ตั้งวัดในปัจจุบันนี้) เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2440 จึงได้มีกุลบุตร สาธุชน ได้เกิดความศรัทธามาขอบรรพชา – อุปสมบท และจำพรรษา ทำนุบำรุงสืบต่อกันเรื่อยมา\r\n\r\nพ.ศ. 2479 ทางวัดและชาวบ้าน ได้จัดตั้งโรงเรียนประชาบาลขึ้น เพื่อให้กุลบุตร กุลธิดาในละแวกนี้ ได้มีโอกาสได้รับการศึกษาเล่าเรียนหนังสือภาษาไทย โดยอาศัยศาลาวัดเป็นอาคารเรียน มีพระภิกษุสามเณรภายในวัดเป็นครูสอนชั่วคราว จนได้รับความสนใจจากชาวบ้านบริเวณนี้ ได้ส่งลูกหลานมาสึกษาเล่าเรียนมากขึ้นตามลำดับเรื่อยมา ทางวัดจึงย้ายโรงเรียนออกไปตั้งสถานที่แห่งใหม่ โดยทางวัดอนุญาตให้ใช้ที่ดินบางส่วนของวัดสร้างโรงเรียนเพิ่มเติม ปัจจุบันคือโรงเรียนบ้านศาลา\r\n\r\nพ.ศ. 2488 ทางกรมการศาสนามีนโยบายให้วัดต่าง ๆ ทั่วราชอาณาจักร ได้เปลี่ยนชื่อใหม่ให้เกิดความเหมาะสมตามกาลสมัย เจ้าอาวาสในขณะนั้นคือ พระอธิการดำรงค์ คนฺธิโย จึงได้ยื่นคำร้องขอเปลี่ยนชื่อวัดใหม่ว่า “ วัดโสภณาราม ” ด้วยเหตุผลคือ อุบาสกท่านหนึ่ง นามว่า “ พ่อน้อยโสภา ” มีความเลื่อมใสในบวรพระพุทธสาสนา ได้มีจิตศรัทธาบริจาคบ้านไม้หลังหนึ่งให้แก่ทางวัด เพื่อทางวัดจะได้นำมาก่อสร้างกุฏิสงฆ์ ซึ่งในตอนนั้นมีพระครูอุดมวุฒิคุณ (พระเทพวรสิทธาจารย์ อดีตเจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ วัดสำเภา ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่) เป็นเจ้าคณะอำเภอแม่ริม ในสมัยนั้น เป็นผู้ตั้งชื่อวัดว่าเ พื่อเป็นอนุสรณ์แก่พ่อน้อยโสภา มาจนถึงปัจจุบันนี้\r\n\r\nวัดโสภณารามเริ่มสร้างเมื่อ พ.ศ. 2438 ได้รับอนุญาตให้สร้างเป็นวัดประมาณปี พ.ศ. 2479 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ 20 มีนาคม 2515 เป็นวัดราษฎร์ สังกัดมหานิกาย\r\n\r\nวัดโสภณารามแห่งนี้ นับตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน ทางวัดได้มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือทางราชการ และสาธารณะ ดังต่อไปนี้\r\n\r\n1. เป็นที่กำเนิดโรงเรียนบ้านศาลา\r\n2. เป็นที่ทำการรองเจ้าคณะอำเภอแม่ริม\r\n3. เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม เปิดสอนนักธรรม บาลี และอภิธรรม\r\n4. เป็นโรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ และธรรมศึกษา\r\n5. เป็นที่ตั้งมูลนิธิบุญญาภรณ์\r\n6. เป็นที่สงเคราะห์โลงศพแก่คนยากจน และรับเป็นเจ้าภาพบำเพ็ญกุศลศพไม่มีญาติ\r\n7. เป็นที่ประชุมของคณะสงฆ์ , ข้าราชการ , และผู้สูงอายุ\r\n8. ส่งเสริมพระภิกษุ – สามเณร เด็กวัด ให้ได้รับการศึกษาทุกระดับชั้น\r\n9. เป็นที่อบรมลูกเสือชาวบ้าน , กลุ่มแม่บ้านไทยอาสาป้องกันชาติ , กลุ่มหนุ่มสาว , ครู , นักเรียน\r\n10. เป็นหน่วยเลือกตั้ง ส.ส. , สว. สอบจ. สอบต. กำนันและผู้ใหญ่บ้าน\r\n11. เป็นที่พักเก็บตัวของนักกีฬา , ลูกเสือเนตรนารี\r\n12. เป็นที่ตั้งบำเพ็ญกุศลศพข้าราชการ , และชาวบ้าน\r\n13. เคยเป็นที่พักของทหารสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2\r\n14. เคยเป็นที่ตั้งขององค์การบริหารส่วนตำบล ตำบลดอนแก้ว\r\n15. ปัจจุบันมีพระภิกษุ – สามเณร , อุบาสก – อุบาสิกา , มาเรียนวิปัสสนากัมมัฏฐาน\r\n16. เป็นที่ตั้งสำนักงานชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลนครพิงค์ เชียงใหม่\r\n\r\nศาลาพิพิธภัณฑ์ ก่อตั้งเมื่อปีพุทธศักราช 2539 วัตถุที่จัดแสดงภายในเป็นวัตถุที่ชาวบ้านนำมาถวายให้กับทางวัด ทางวัดจึงได้เก็บรวบรวมไว้","open_date":"เปิดทำการ วันอังคาร - วันอาทิตย์","latitude":"18.862","longitude":"98.9651","address":"","tambon":"ดอนแก้ว","ampher":"แม่ริม","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"50130","tel":"081-1807812","email":"mail@gmail.com","website":"","bg_path":"watsopanaram","bg_lang":"th","pic":"191321531DSCF5971.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/watsopanaram\/pic\/big\/191321531DSCF5971.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"watermark.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2019-01-31 11:12:57"},{"museum_code":"22","museum_name":"ศูนย์ข้อมูลโบราณสถานเวียงลอ","description":" เวียงโบราณเวียงลอ ตั้งอยู่ที่ตำบลลอ อำเภอจุน จังหวัดพะเยา สันนิษฐานว่าเคยเป็นเมืองโบราณขนาดใหญ่ เวียงลอ เป็นเมืองโบราณขนาดใหญ่มีอายุมากกว่า 900 ปี ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 17 เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์เมืองหนึ่งในภาคเหนือ ตามหลักฐานศิลาจารึกและพระพุทธรูปหินทราย ที่ขุดพบในตัวเมืองโบราณเวียงลอภายในคูเมือง กำแพงเมือง พบโบราณสถาน ประมาณ 10 แห่ง และพบซากโบราณสถาน นอกคูเมือง-กำแพงเมืองอีกประมาณ 40 แห่งที่สำคัญ คือ มีวัดร้างอยู่มากมาย พระธาตุและวัดเก่าแก่ คือวัดศรีปิงเมือง และใกล้เวียงลอยังเป็นจุดที่ลำน้ำจนไหลลงน้ำแม่อิง ด้วยเหตุนี้จึงเรียกบริเวณนี้เรียกว่า \"สบอิง\" ปี พ.ศ. 1818 ครั้งพญามังรายครองเมืองฝาง ได้ยกทัพจากเมืองฝางไปตีเมืองเทิงซึ่งเป็นเมืองหน้าด้านของเมืองพะเยารวมถึงเวียงลอที่อยู่ทางใต้ของเมืองเทิงด้วย เมื่อพญาคำฟูผนวกรวมเมืองพะเยาเข้ากับล้านนา เวียงลอก็ถูกรวมเข้ากับล้านนาไปด้วย ","open_date":"","latitude":"19.4491","longitude":"100.09","address":"","tambon":"ลอ","ampher":"จุน","province":"พะเยา ","zipcode":"56150","tel":"","email":"","website":"https:\/\/culture.eng.up.ac.th\/","bg_path":"WiengLor","bg_lang":"th","pic":"2021-12-15_20-20-13_9Z0A4353-1.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/WiengLor\/pic\/profile_upload\/2021-12-15_20-20-13_9Z0A4353-1.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2022-07-23 02:17:30"},{"museum_code":"23","museum_name":"วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร","description":"วัดโพธิ์ หรือนามทางราชการว่า วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก และเป็นวัดประจำรัชกาลที่ ๑แห่งราชวงศ์จักรี เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาวัดโพธารามวัดเก่าที่เมืองบางกอกครั้งกรุงศรีอยุธยา เป็นวัดหลวงข้างพระบรมมหาราชวัง และที่ฐานชุกชีประดิษฐานพระพุทธเทวปฏิมากร พระประธานในพระอุโบสถเป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิของพระองค์ท่านไว้ด้วย\r\n\r\n พระอารามหลวงแห่งนี้ มีเนื้อที่ ๕๑ ไร่ ๒ งาน ๙๘ ตารางวาอยู่ด้านทิศใต้ของพระบรมมหาราชวัง ทิศเหนือจดถนนท้ายวัง ทิศตะวันออกจดถนนสนามไชย ทิศใต้จดถนนเศรษฐการ ทิศตะวันตกจดถนนมหาราช มีถนนเชตุพนขนาบด้วยกำแพงสูงสีขาวแบ่งเขตพุทธาวาสและสังฆาวาสชัดเจนมีหลักฐานปรากฏในศิลาจารึกไว้ว่า หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนาพระบรมมหาราชวังแล้วทรงพระราชดำริว่า มีวัดเก่าขนาบพระบรมมหาราชวัง ๒ วัด ด้านเหนือ คือวัดสลัก วัดมหาธาตุ ด้านใต้ คือ วัดโพธาราม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ขุนนางเจ้าทรงกรม ช่างสิบหมู่อำนวยการบูรณปฏิสังขรณ์ เริ่มเมื่อพ.ศ. ๒๓๓๑ เสด็จวัดโพธาราม มีสภาพทรุดโทรม ต่อมาปี พ.ศ. ๒๓๓ จึงโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระอุโบสถอันดับแรก ใช้เวลา ๗ ปี ๕ เดือน ๒๘ วัน จึงแล้วเสร็จ และโปรดเกล้าฯ ให้มีการฉลองเมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๔ พระราชทานนามใหม่ว่า วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาวาศ ต่อมารัชกาลที่ ๔ ได้โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยน ท้ายนามวัดเป็น วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม","open_date":"","latitude":"13.746","longitude":"100.493","address":"2 ถนนสนามไชย","tambon":"แขวงพระบรมมหาราชวัง","ampher":"พระนคร","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"12000","tel":"","email":"","website":"https:\/\/www.watpho.com","bg_path":"watpho","bg_lang":"th","pic":"2019-08-23_13-45-26_contact_history_408-12-2018 19_22_34.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/watpho\/pic\/profile_upload\/2019-08-23_13-45-26_contact_history_408-12-2018 19_22_34.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-22 03:05:22"},{"museum_code":"24","museum_name":"บ้านธาตุดิน ชุมชนเกาะเกร็ด ปากเกร็ด","description":"บ้านธาตุดิน ตั้งอยู่ที่เกาะเกร็ด ซึ่งเป็นเกาะขนาดใหญ่กลางลำน้ำเจ้าพระยามีฐานะเป็นตำบล แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 หมู่บ้าน เกาะเกร็ดเกิดขึ้นจากการขุดคลองลัดลำน้ำเจ้าพระยา \r\nบ้านธาตุดิน ก่อตั้งมาแล้วกว่า 30 ปี เป็นบ้านที่มีการปั้นและการแกะสลักลายเครื่องปั้นดินเผา เพื่อใช้เป็นของที่ระลึก นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่รับฝึกสอนการปั้นและการแกะสลักลวดลายให้แก่บุคคลที่สนใจ ทุกเพศ ทุกวัยอีกด้วย","open_date":"ผู้ที่ต้องการเยี่ยมชมสามารถเข้าไปเยี่ยมชมได้ในวันเสาร์-อาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 08.00 - 17.30 น. (หรือตามเวลาเรือข้ามฟาก)\r\nและสามารถติดต่อนัดหมายเวลาเพื่อเข้าไปเรียนวิธีการทำเครื่องปั้นดินเผาได้ที่เบอร์ 081-425-2022 (ลุงชัยยุทธ)\r\n","latitude":"13.7478","longitude":"100.496","address":"64","tambon":"เกาะเกร็ด","ampher":"ปากเกร็ด","province":"นนทบุรี ","zipcode":"11120","tel":"081-425-2022","email":"","website":"","bg_path":"kohkred","bg_lang":"th","pic":"2019-11-06_12-53-24_18268221_1362695153806919_6771333888928930109_n.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/kohkred\/pic\/profile_upload\/2019-11-06_12-53-24_18268221_1362695153806919_6771333888928930109_n.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2019-10-04 10:39:27"},{"museum_code":"25","museum_name":"ชุมชนมัสยิดยะวา","description":" ชุมชนมัสยิดยะวาเป็นชุมชนชาวมุสลิมเชื้อสายยะวาที่ใหญ่ที่สุดของกรุงเทพมหานครและยังคงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมไว้ได้บางส่วนเช่นเรื่องสถาปัตยกรรมมัสยิดแบบชวาแห่งเดียวในประเทศไทย อีกทั้งชุมชนมัสยิดยะวายังมีสิ่งที่โดดเด่น และเป็นเอกลักษณ์ คือวัฒนธรรมเรื่องอาหาร ซึ่งอาหารของชาวยะวาถือว่าเป็นวัฒนธรรมที่หารับประทานได้ยากและแทบไม่มีให้เห็นแล้วในเกาะชวาปัจจุบัน อีกทั้งยังเป็นสิ่งที่ใช้ธำรงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาวยะวาที่ยังใช้ปรุงกันในโอกาสสำคัญต่างๆ ตามประเพณี เช่น ข้าวผัดยะวา สโม้รปลาโอ ไข่เจียวยะวา และ อัมบึ๊ง เป็นต้น ⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀\r\n\r\nประวัติโดยย่อของมัสยิดยะวา เริ่มมาจากเมื่อปี พ.ศ. 2437 มีพ่อค้าจากเมืองกันดาล ของเกาะชวากลาง ที่เดินทางเข้ามาค้าขายในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2414 เป็นผู้ริเริ่มในการสร้างมัสยิด โดยเขาได้สร้างมัสยิดแบบสถาปัตยกรรมเชอมารัง ลักษณะเป็นอาคารชั้นเดียว มีหลังคาเป็นชั้น ๆ และต่อมา ในปี พ.ศ.2448 ด้วยความร่วมมือและการบริจาคทรัพย์ของชาวชวาและมุสลิมในชุมชนแห่งนี้ รวมถึงชุมชนอื่น ก็ได้มีการให้ชื่อมัสยิดแห่งนี้ว่า \"มัสยิดยะวา\" ⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀⠀\r\n\r\nวิถีชีวิตของชุมชนมัสยิดยะวาถือเป็นศูนย์กลางของผู้คนในชุมชน ด้านการทำกิจกรรมทางศาสนาในหลากหลายประเภท อีกทั้งยังมีการทำอาหารประจำชุมชน ที่แพร่กระจายอยู่โดยรอบ ทำให้ชุมชนแห่งนี้ ยังคงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมด้านอาหารที่หลงเหลืออยู่ในชุมชน จากการถ่ายทอดแบบรุ่นสู่รุ่นอีกด้วย\r\n\r\n\r\n\r\n","open_date":"เปิดให้เข้าชมทุกวัน โดยไม่มีเวลาปิดแน่นอนเนื่องจากชุมชนเป็นรูปแบบเปิดดังนั้นแต่ละบ้านจะมีเวลาไม่เท่ากัน","latitude":"13.7159","longitude":"100.522","address":" 707","tambon":"100101","ampher":"1","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10120","tel":"02-675-6033","email":"","website":"","bg_path":"masjidjawa","bg_lang":"th","pic":"2019-10-28_14-25-23_รูปมัสยิด.JPG","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/masjidjawa\/pic\/profile_upload\/2019-10-28_14-25-23_รูปมัสยิด.JPG","bg_picshow":"1","bg_watermark":"IMG_1421.JPG","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2019-10-04 10:40:54"},{"museum_code":"26","museum_name":"พิพิธภัณฑ์บ้านแพรก","description":"พิพิธภัณฑ์บ้านแพรก ตั้งอยู่ในบริเวณโรงเรียนบ้านแพรกประชาสรรค์ โดยมีอาจารย์ประสาน เสถียรพันธุ์ อาจารย์ประจำหมวดวิชาสังคมศึกษา และเป็นหนึ่งในคณะกรรมการของสภาวัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นผู้ดูแลพิพิธภัณฑ์ อาจารย์พยายามผลักดันให้พิพิธภัณฑ์บ้านแพรกเป็น ศูนย์ศึกษาประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำลพบุรี","open_date":"กรุณาติดต่อสอบถามล่วงหน้า","latitude":"14.6334","longitude":"100.565","address":"49","tambon":"สำพะเนียง","ampher":"บ้านแพรก","province":"พระนครศรีอยุธยา ","zipcode":"13240","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"banprakmuseum","bg_lang":"th","pic":"2019-02-14_13-31-56_18836897_109379516324988_3881185846599071163_o (1) (1).jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/banprakmuseum\/pic\/profile_upload\/2019-02-14_13-31-56_18836897_109379516324988_3881185846599071163_o (1) (1).jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"2017-11-10_08-24-43_blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2018-07-24 15:16:38"},{"museum_code":"27","museum_name":"พิพิธภัณฑ์เซรามิคธนบดี","description":"พิพิธภัณฑ์เซรามิคธนบดี ตั้งอยู่เลขที่ 32 ถนนวัดจองคำ ตำบลพระบาท อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ก่อตั้งโดย นายพนาสิน ธนบดีสกุล ทายาทรุ่นที่ 2 ของนายอี้ ซิมหยู แซ่ฉิน วัตถุประสงค์ของการตั้งพิพิธภัณฑ์ก็เพื่อรักษาเกียรติประวัติของอาปาอี้ ซิมหยู แซ่ฉิน ต้นตระกูลธนบดีสกุล ผู้ค้นพบแร่ดินขาว และก่อตั้งโรงงานเซรามิคแห่งแรกของลำปาง ซึ่งได้รวบรวมเรื่อง ราวและตำนาน \"ชามไก่แห่งธนบดี\" หนึ่งเดียวที่ยังคงอนุรักษ์ประวัติศาสตร์แห่ง ความภาคภูมิใจให้สมกับที่ลำปางเป็น เมืองแห่งเซรามิคของประเทศไทยภายในพิพิธภัณฑ์แสดงถึงประวัติของบริษัทในเครือธนบดี ต้นกำเนิดชามไก่ เซรามิคของเมืองลำปางและสาธิต การผลิตชามไก่แบบโบราณรวมถึงสามารถชมกระบวนการผลิตเซรามิคสมัยใหม่ได้อย่างใกล้ชิด เพื่อเป็นการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมและส่งเสริมการเรียนรู้ด้านเซรามิคและศิลปะให้กับผู้ที่สนใจ นอกจากนี้ พิพิธภัณฑ์เซรามิคธนบดี ยังคงความเป็น เอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น ฉบับและเป็นต้นกำเนิดชามไก่ของนครลำปาง ซึ่งมีโบราณสถานที่ทรงคุณค่าที่อยู่ภายในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ ไม่ว่าจะเป็น เตามังกรโบราณ ชามตราไก่จิ๋ว ชามตราไก่ที่ยังคงผลิตและวาดลวดลายแบบดั้งเดิมไว้เป็นอย่างดี มีการแสดงนิทรรศการ เกี่ยวกับต้นกำเนิดชามตราไก่ ที่ถือเป็นศิลปะและวัฒนธรรมเชิง วิถีชีวิต ชุมชนที่งดงาม และบ่งบอกถึงความหลากหลายที่สืบทอดกันมา เนิ่นนานจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ พิพิธภัณฑ์เซรามิคธนบดียังเป็น แหล่งรวบรวมของ ข้อมูลที่เหมาะเป็นสถานที่การเรียนรู้ทุกระดับ ในเชิงประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมอีกด้วย","open_date":"กรุณาติดต่อสอบถามล่วงหน้า","latitude":"18.2803","longitude":"99.5105","address":"32","tambon":"พระบาท","ampher":"เมือง","province":"ลำปาง ","zipcode":"52000","tel":"","email":"mkt1-dcm@dhanabadee.com","website":"www.dhanabadee.com","bg_path":"dhanabadee","bg_lang":"th","pic":"2019-02-14_13-44-03_thumb-13347003_1137517686310452_6468382916528291514_n.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/dhanabadee\/pic\/profile_upload\/2019-02-14_13-44-03_thumb-13347003_1137517686310452_6468382916528291514_n.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"watermark.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2018-07-24 15:30:38"},{"museum_code":"28","museum_name":"บ้านป่องนัก","description":"บ้านป่องนัก หรือ พิพิธภัณฑ์มณฑลทหารบกที่ 32 เป็นบ้านในค่ายสุรศักดิ์มนตรี ตั้งอยู่ในเขตตำบลพิชัย อำเภอเมืองลำปาง บ้านป่องนัก เป็นภาษาคำเมืองที่คนภาคเหนือเรียกกัน ซึ่งคำว่า ป่อง นั้นหมายถึงหน้าต่าง คำว่า นัก หมายถึง มาก ฉะนั้น บ้านป่องนัก จึงหมายถึง บ้านที่มีหน้าต่างจำนวนมาก บ้านป่องนักได้เริ่มก่อสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2468 โดยกรม ยุทธการทหารบก และควบคุมการก่อสร้างโดยพันโทพระมหาณรงค์เรืองเดช ผู้บังคับกองทัพที่ 1 กรมทหารราบที่ 17 ซึ่งใช้งบประมาณในการก่อสร้างไปกว่า 16,000 บาท ในการสร้างบ้านบ้านป่องนักขึ้นมานั้น เพื่อใช้เป็นพลับพลาที่ประทับของรัชกาลที่ 7","open_date":"กรุณาติดต่อสอบถามล่วงหน้า","latitude":"18.2963","longitude":"99.5183","address":"มณฑลทหารบกที่ 32 ค่ายสุรศักดิ์มนตรี ถนนพหลโยธิน","tambon":"พิชัย","ampher":"เมือง","province":"ลำปาง ","zipcode":"52000","tel":"054-225941 08-9850-1252","email":"","website":"","bg_path":"banpongnak","bg_lang":"th","pic":"2019-02-14_13-15-20_thumb-37_20141202170906..jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/banpongnak\/pic\/profile_upload\/2019-02-14_13-15-20_thumb-37_20141202170906..jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"watermark.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2018-07-24 15:40:38"},{"museum_code":"29","museum_name":"วัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม","description":"วัดพระแก้วดอนเต้า เป็นที่ตั้งของพระบรมธาตุดอนเต้าซึ่งเป็นพระเจดีย์องค์ใหญ่ บรรจุพระเกศาธาตุของพระพุทธเจ้ามณฑปศิลปะพม่า ลักษณะงดงาม ประดิษฐานพระพุทธรูปองค์ใหญ่และวิหารประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ ซึ่งมีอายุเก่าแก่พอๆกับการสร้างวัดนี้ นอกจากนี้ยังมีวิหารหลวงพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติล้านนาและวิหารพระเจ้าทองทิพย์","open_date":"กรุณาติดต่อสอบถามล่วงหน้า","latitude":"18.3014","longitude":"99.5092","address":"","tambon":"เวียงเหนือ","ampher":"เมือง","province":"ลำปาง ","zipcode":"52000","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"watphrakaewdontao","bg_lang":"th","pic":"2019-02-14_13-27-26_PA240461-1 (1).jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/watphrakaewdontao\/pic\/profile_upload\/2019-02-14_13-27-26_PA240461-1 (1).jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"watermark.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2018-11-05 14:20:20"},{"museum_code":"30","museum_name":"พิพิธภัณฑ์หอปูมละกอน","description":"หอปูมละกอน ก่อตั้งโดยเทศบาลนครลำปาง เป็นพิพิธภัณฑ์เมืองที่จัดแสดงเล่าเรื่องเมืองลำปางโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ มีเนื้อหาแสดงเหตุปัจจัย เงื่อนไข และบทบาทของสิ่งที่กำหนดจิตวิญญาณในแต่ละยุคสมัยของลำปาง เน้นเล่าเรื่องภูมิหลัง ของเมืองลำปาง ทั้งนี้เพื่อให้เยาวชนได้เห็นตัวอย่างจากอดีตเพื่อให้เกิดแรงบันดาลใจในการกำหนดทิศทางของนครลำปางทั้งปัจจุบันและอนาคต","open_date":"จันทร์ - ศุกร์","latitude":"18.2886","longitude":"99.4876","address":"ห้าแยกหอนาฬิกา","tambon":"สบตุ๋ย","ampher":"เมือง","province":"ลำปาง ","zipcode":"52000","tel":"054237237","email":"","website":"","bg_path":"bhumilakhon","bg_lang":"th","pic":"2019-02-14_11-35-19_23032696_709703155906971_6627171239271227776_n (1).jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/bhumilakhon\/pic\/profile_upload\/2019-02-14_11-35-19_23032696_709703155906971_6627171239271227776_n (1).jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"watermark.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2018-11-05 14:20:20"},{"museum_code":"31","museum_name":"สถาบันอยุธยาศึกษา","description":"ในปี พ.ศ.2548 สำนักศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ได้ยกสถานะเป็น สถาบันอยุธยาศึกษา ทำหน้าที่ทางวิชาการในด้านการอนุรักษ์ ส่งเสริมเผยแพร่ วิจัย ศิลปวัฒนธรรม โดยจัดตั้งขึ้นตามโครงสร้างของมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.2547 ที่ได้กำหนดไว้ในมาตรา 7 คือ ให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่เสริมสร้าง พลังปัญญา ของแผ่นดินฟื้นฟูพลังการเรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญาของท้องถิ่น สร้างสรรค์ศิลปวิทยา เพื่อความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืนของปวงชน มีส่วนร่วมในการจัดการ การบำรุงรักษาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลแล","open_date":"วันและเวลาทำการ\r\nวันจันทร์-วันอาทิตย์ เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์\r\nค่าเข้าชม\r\nไม่เสียค่าเข้าชม","latitude":"14.35","longitude":"100.564","address":"96 หมู่ 2 ถนนปรีดี พนมยงค์ ตำบลประตูชัย","tambon":"ประตูชัย","ampher":"พระนครศรีอยุธยา","province":"พระนครศรีอยุธยา ","zipcode":"13000","tel":"035-241407","email":"ayutthayastudies@gmail.com","website":"http:\/\/asi.aru.ac.th","bg_path":"asi","bg_lang":"th","pic":"2019-01-24_14-57-56_1599190_799669676713840_1305336929_o.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/asi\/pic\/profile_upload\/2019-01-24_14-57-56_1599190_799669676713840_1305336929_o.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"watermark.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2019-01-24 14:26:21"},{"museum_code":"32","museum_name":"ชุมชนบ้านครัว ","description":" ชุมชนบ้านครัวเหนือเป็นชุมชนเก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ตั้งอยู่ที่ริมคลองแสนแสบ ซ.เกษมสันต์ 3 เขตราชเทวี เดิมบ้านครัวเคยเป็นที่อยู่อาศัยของขุนนางและทหารเรือของกองอาสาจามและชาวจามจากเขมร โดยมีภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมานาน อย่างผ้าไหมบ้านครัวที่เป็นเอกลักษณ์ เพราะ เป็นผ้าไหมคุณภาพสูงและมีความประณีต เส้นไหมละเอียด สีสวยสดคงทน และยังคงขั้นตอนการผลิตรูปแบบเดิมไว้ จนผ้าไหมจากบ้านครัวได้รับการยอมรับจากจิม ทอมป์สัน นักธุรกิจชาวต่างชาติที่หลงใหลในผ้าไหมไทยและให้การสนับสนุนชุมชน แต่หลังจากนายจิม ทอมป์สันหายตัวไปในปีพ.ศ.2510 จึงส่งผลกระทบต่อชุมชนเป็นอย่างมาก หลายครอบครัวได้ไปประกอบอาชีพอื่นโดยในปัจจุบันเหลือเพียงครอบครัวของคุณนิพนธ์ มนูทัศน์ที่ยังประกอบกิจการทอผ้าไหมซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชุมชนแห่งนี้ ","open_date":"เปิดให้เข้าชมทุกวัน","latitude":"13.7515","longitude":"100.527","address":"857 ถนนเพชรบุรี","tambon":"ถนนเพชรบุรี","ampher":"ราชเทวี","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10400","tel":"ติดต่อร้านผ้าไหมบ้านครัวที่คุณนิพนธ์ มนูทัศน์ (โทรศัพท์ 081-243-9089)","email":"","website":"https:\/\/www.phamaibaankrua.com","bg_path":"baankhruanuea","bg_lang":"th","pic":"2019-10-04_14-36-06_807be4e55a45427d835b43df2e61bb10.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/baankhruanuea\/pic\/profile_upload\/2019-10-04_14-36-06_807be4e55a45427d835b43df2e61bb10.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2019-10-04 10:41:16"},{"museum_code":"33","museum_name":"ชุมชนเกาะศาลเจ้า","description":"“ชุมชนวัดจำปา” หรือที่รู้จักกันในชื่อ “ชุมชนเกาะศาลเจ้า” เป็นอีกชุมชนหนึ่งที่ยังคงวิถีท้องถิ่นไว้ได้แม้จะถูกหมู่บ้านจัดสรรล้อมเข้ามาเรื่อยๆ ที่นี่เป็นชุมชนเล็กๆ ย่านคลองบางระมาดในเขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร เป็นอีกหนึ่งชุมชนที่ยังเป็นแหล่งเรียนรู้งานช่าง ที่เรียกว่า “กลุ่มช่างวัดจำปา” โดยมีฝีมือทั้งงานเขียน งานปั้น งานแทงหยวก งานบายศรี การทำน้ำอบน้ำปรุง และแป้งพวง ซึ่งเป็นอีกหนึ่งวิถีท้องถิ่นที่สืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น และยังคงรักษาวิถีของตนเองไว้ได้อย่างเป็นเอกลักษณ์จนถึงปัจจุบัน\r\n สำหรับชื่อชุมชนเกาะศาลเจ้านั้นมาจากศาลเจ้าพ่อจุ้ยภายในชุมชน เป็นเทพเจ้าแห่งท้องน้ำและการค้า จากอดีตบริเวณนี้เคยเป็นแหล่งการค้าชุมชนและท่าเรือเก่า ในคลองเล็กๆ บริเวณนี้เป็นย่านการเกษตร อยู่ติดกับสถานที่มากมาย ไม่ว่าจะเป็น ปากคลองตลาด ตลาดศาลาน้ำร้อน และตลาดวัดศาลาสี่หน้า อีกทั้งจากบริเวณศาลเจ้าพ่อจุ้ยจึงเป็นเหมือนศูนย์กลางของความเชื่อ อีกด้วย\r\n ที่นี่ยังติดอันดับ 1 ใน 10 ชุมชนน่าท่องเที่ยวของประเทศไทยและยังเป็นชุมชนในพื้นที่ย่านคลองบางระมาดที่เก่าแก่ที่สุด 1 ใน 8 ของกรุงเทพฯ มีความเป็นมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เหตุที่เรียกว่าเป็นเกาะเนื่องจากพื้นที่ถูกล้อมรอบด้วยคลองสายหลัก 2 สาย คือ คลองบางระมาดและคลองบ้านไทร และมีคลองลัดวัดจำปาที่คอยเชื่อมคลองทั้งสองสายเข้าด้วยกันจึงทำให้พื้นที่ของชุมชนมีลักษณะเป็นเกาะนั่นเอง","open_date":"สามารถเข้าเยี่ยมชม สัมผัสวิธีชีวิตภายในชุมชนเกาะศาลเจ้า\r\nได้เฉพาะเสาร์-อาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์\r\n","latitude":"13.7744","longitude":"100.436","address":"ถนน บรมราชชนนี 75","tambon":"บางระหมาด","ampher":"ตลิ่งชัน","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10170","tel":"0870366322","email":"dui450@gmail.com","website":"-","bg_path":"KohSarnChao","bg_lang":"th","pic":"2020-11-25_21-32-07_1.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/KohSarnChao\/pic\/profile_upload\/2020-11-25_21-32-07_1.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2019-10-04 10:43:16"},{"museum_code":"34","museum_name":"ชุมชนคลองบางหลวง","description":" ชุมชนคลองบางหลวงเป็นชุมชนเก่าแก่ตั้งอยู่ที่เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานครฯ มีประวัติความเป็นมายาวนานตั้งแต่สมัยสถาปนากรุงธนบรี เหล่าขุนนางจึงได้มาจับจองพื้นที่สร้างที่อยู่อาศัยกันในบริเวณริมคลอง จึงได้ขนานนามว่า “คลองบางข้าหลวง” ต่อมา ได้มีการตัดทอนคำออกไปจึงเหลือเพียงชื่อ “คลองบางหลวง” อย่างที่เรียกกันในปัจจุบัน ชุมชนมีวัฒนธรรมและวิถีชีวิตเรียบง่ายและมีเอกลักษณ์ \r\n ในปัจจุบันถึงแม้ว่าความเจริญจะรุกคืบเข้ามาในชุมชนแล้วก็ตาม ผู้คนภายในชุมชนเองก็ยังคงอนุรักษ์ความเป็นธรรมชาติของชุมชนให้คงอยู่ด้วยการมีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย อนุรักษ์ความดั้งเดิม เช่น การมีอาคารบ้านเรือนที่สร้างด้วยไม้ริมฝั่งคลองที่อนุรักษ์ความเป็นอดีต การมีชีวิตที่อิงอาศัยและผูกพันกับธรรมชาติรอบตัวได้อย่างกลมกลืน นอกจากนี้แล้วภายในชุมชนยังมีวัฒนธรรมที่เข้มแข็ง และมีการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าคือ การแสดงหุ่นละครเล็กคลองบางหลวง \r\n สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ถือเป็นสิ่งที่หาชมและสัมผัสถึงบรรยากาศในอดีตได้ยากในปัจจุบัน เป็นสิ่งที่มีเอกลักษณ์ควรค่าอย่างยิ่งที่จะรักษาไว้สืบทอด และสืบต่อให้คนรุ่นใหม่ได้เห็นและได้เรียนรู้ต่อไป","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"ซอย เพชรเกษม 20","tambon":"ปากคลองภาษีเจริญ","ampher":"ภาษีเจริญ","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10160","tel":"","email":"","website":"a","bg_path":"khlongbangluang","bg_lang":"th","pic":"2019-10-29_14-44-35_S__4390937.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/khlongbangluang\/pic\/profile_upload\/2019-10-29_14-44-35_S__4390937.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2019-10-04 10:45:03"},{"museum_code":"35","museum_name":"ชุมชนบางแซ่","description":"การอพยพของมอญ เกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ พ.ศ.๒๓๕๘ ซึ่งในครั้งนั้นเกิดจากการที่ชาวมอญ ไม่พอใจในพระเจ้าปะดุงของพม่า เกณฑ์แรงงานก่อสร้างพระเจดีย์ใหญ่ จึงก่อกบฎที่เมืองเมาะตะมะ ภายหลัง ถูกปราบปรามอย่างทารุณ ต้องหนีเข้ามายังเมืองไทย และอพยพเข้ามายังไทย นับเป็นการอพยพครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ เป็นจำนวนทั้งสิ้นราว ๔๐,๐๐๐ คน และรัชกาลที่ ๒โปรดฯ พระราชทานที่ทำกินให้แก่ชาวมอญที่ปากเกร็ด สามโคก และพระประแดง \r\n\r\nชาวไทยเชื้อสาย มอญ ในพระประแดง ได้รับการยอมรับให้ทำราชการ ตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนประกอบอาชีพได้อิสระ ชนชั้นปกครองของไทยเองก็ไม่ได้มองว่า “มอญ” เป็นชาวต่างชาติ ชาวมอญมีสิทธิเช่นเดียวกับชาวไทยทุกประการ หากชาวมอญ ทำเรื่องเสื่อมเสียก็ย่อมส่งผลถึงชื่อเสียงและภาพลักษณ์ของชาวไทยโดยรวม \r\n\r\nด้วยความที่ ชาวมอญ และชาวไทยมีรูปร่างหน้าตาคล้ายคลึงกัน วัฒนธรรมประเพณีที่เข้ากันได้แบบแนบสนิท อีกทั้งความเจริญของบ้านเมือง และเทคโนโลยีสารสนเทศน์ ทำให้ชาวมอญพระประแดงทุกวันนี้ ถูกกลืนเป็นไทยเสียโดยมาก แต่ทว่ายังเป็นความโชคดี ที่คนกลุ่มหนึ่งมีความมุ่งมั่นในการอนุรักษ์ฟื้นฟูวัฒนธรรมประเพณี และภาษาของชาวมอญพระประแดงให้คงอยู่ รวมทั้งทางราชการก็ให้ความสนใจและส่งเสริม ในทุกวันนี้ เราจึงยังคงมีโอกาสได้ยินเสียงลูกหลานชาวพระประแดงท่องอักขระมอญ เห็นประเพณีสงกรานต์มอญพระประแดงที่ลือชื่อ เป็นงานใหญ่ระดับชาติ ที่คนมอญทั่วประเทศภาคภูมิใจเป็นหนึ่งในชุมชนมอญปากลัดที่มีการแบ่งออกเป็น 16 หมู่บ้าน เดิมมีชื่อว่า กวานแซ่ ซึ่งคำว่า กวาน แปลว่า หมู่บ้านในภาษามอญ ในปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันในชื่อชุมชนบางแซ่ โดยยังคงมีการนำเอาวัฒนธรรมการแห่ธงตะขาบของชาวมอญเข้ามาปรับใช้กับวัฒนธรรม ความเชื่อและศาสนาของไทย โดยปกติจะมีการจัดทำธงตะขาบในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน ณ วัดทรงธรรม เพื่อจัดเตรียมสำหรับงานเทศกาลสงกรานต์และประเพณีแห่หงส์ธง-ตะขาบ\r\nโดยคนในชุมชนหรือบุคคลภายนอกที่มีความสนใจสามารถเข้ามาร่วมทำธงตะขาบเพื่อเป็นสิริมงคลได้ด้วย","open_date":"","latitude":"13.66","longitude":"100.53","address":"","tambon":"ตลาด","ampher":"พระประแดง","province":"สมุทรปราการ ","zipcode":"10310","tel":"02 463 5433","email":"","website":"N\/A","bg_path":"BaanSaladin","bg_lang":"th","pic":"2019-11-29_23-14-50_ชุมชนบ้านแซ่_๑๙๑๑๒๙_0042.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/BaanSaladin\/pic\/profile_upload\/2019-11-29_23-14-50_ชุมชนบ้านแซ่_๑๙๑๑๒๙_0042.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"7x5FT-Cartoon-Clouds-Baby-Blue-Sky-Sun-Green-Grass-Hills-Custom-Photo-Studio-Backgrounds-Backdrops-Vinyl.jpg_640x640.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2019-10-04 10:43:54"},{"museum_code":"36","museum_name":"บ้านเมืองรวง","description":"บ้านเมืองรวงเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อประมาณปีพุทธศักราช 2397 ผู้เฒ่าผู้แก่เล่าสืบต่อกันว่าผู้ที่ริเริ่มก่อตั้งหมู่บ้านครั้งแรกนั้น เป็นชาวลวง ซึ่งเดินทางมาจากบ้านลวงอำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ต่อมาในปีพุทธศักราช 2527 นายบุญเลิศ สุวรรณจิตต์ ผู้ใหญ่บ้านในขณะนั้นได้ขอเปลี่ยนจากคำว่า ลวง เป็น รวง ตามภูมิประเทศ ซึ่งเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ซึ่งมีการทำนาปลูกข้าวและมีรวงข้าวที่งดงามมาก และใช้ชื่อว่าบ้านเมืองรวงตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบัน","open_date":"","latitude":"19.8441","longitude":"99.716","address":"109 หมู่ที่ 5 หมู่บ้านเมืองรวง","tambon":"แม่กรณ์","ampher":"เมือง","province":"เชียงราย ","zipcode":"57130","tel":"089 566 0312","email":"","website":"http:\/\/www.navanurak.in.th\/BanMueangRuang\/site\/theme\/index.php","bg_path":"BanMueangRuang","bg_lang":"th","pic":"2019-10-31_15-10-05_35686766_640272549657350_7183762299289600000_o.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/BanMueangRuang\/pic\/profile_upload\/2019-10-31_15-10-05_35686766_640272549657350_7183762299289600000_o.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2019-10-31 14:50:01"},{"museum_code":"37","museum_name":"วัดบ้านหลุก","description":"วัดบ้านหลุก สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2300 สร้างโดยสมเด็จพระวังช้างในที่ดินของนางจำปา ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 6 ตำบลนาครัว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง ภายในวัดมีการปฏิมากรรมลวดลายของวัดในแบบโบราณ ภายในอุโบสถมีธรรมสน์เก่าแก่ สร้างพร้อมกับวัด ซึ่งมีความวิจิตรงดงามและมีการแกะสลักลายไทยประดับไว้อย่างสวยงาม","open_date":"วันและเวลาทำการ\r\nเปิดวันทุกวัน\r\nเวลา 8.30-16.30","latitude":"18.3801","longitude":"98.9797","address":"เลขที่ 289 หมู่ 6 ซอย บ้านหลุก","tambon":"นาครัว","ampher":"แม่ทะ","province":"ลำปาง ","zipcode":"52150","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"watbanluk","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2020-08-31 11:25:26"},{"museum_code":"38","museum_name":"Satun UNESCO Global Geopark","description":"Satun UNESCO Global Geopark, or Satun UGGp, is located in the southern part of Thailand along the Andaman Sea. It covers four districts in Satun Province: Mueang (partly), La-ngu, Thung Wa, and Manang, with a total area of 2,597.21 square kilometers. \r\nThe origin of the Satun Geopark dates back to the discovery of fossilized remains of prehistoric Stegodon elephants, dating back about 1.8 million years, along with fossils of other ancient animals such as rhinos and deer found in Wang Kluea Cave, later renamed \"Lastegodon Cave.\" In response, the Thung Wa Subdistrict Administrative Organization built the Thung Wa Prehistoric Elephant Museum to showcase these fossils and promote education and tourism.\r\nIn 2011, Satun Province began following guidelines from the Department of Mineral Resources to establish a geopark. The province set up a management agency and developed a geopark management plan. On August 15, 2014, the governor officially declared the establishment of Satun Geopark, and on April 17, 2018, Satun was officially recognized as a UNESCO Global Geopark.\r\nBecoming a UNESCO Global Geopark promotes conservation through geotourism, a new model for sustainable tourism and conservation. This recognition has increased Thailand’s international visibility, highlighting its natural resources and tourism potential. It has also contributed to economic growth in local communities by creating jobs and generating income, while fostering a local awareness of resource conservation and long-term protection.\r\nThe Satun Geopark features a remarkable landscape with limestone mountains, numerous small islands, and beautiful beaches. The park’s geological and natural features make it a significant site for international geotourism, managed with a focus on geological conservation, environmental protection, natural resource management, education, and sustainable development.\r\nThe land and waters within the Satun Geopark are a record of the ancient sea world from around 500 million years ago, rich in ancient marine life. Over time, tectonic movements lifted the earth's crust, forming mountain ranges and caves that have become homes to ancient humans. Today, the area continues to be inhabited by local communities, with unique cultures, traditions, and lifestyles, including indigenous people.\r\nWith its rich geological heritage and diverse natural landscapes, Satun Geopark offers a variety of nature-based tourism activities, such as river rafting, diving, cave exploration, and relaxation at waterfalls and beaches. Visitors can also purchase local handicrafts and experience the vibrant local culture.\r\nTourism in the Satun Geopark not only supports local economies but also promotes the conservation and sustainable management of natural resources for future generations.\r\n\r\n\r\n","open_date":"","latitude":"7.09092","longitude":"99.7686","address":" 32\/5 416","tambon":"ทุ่งหว้า","ampher":"ทุ่งหว้า","province":"สตูล ","zipcode":"91120","tel":"074789317","email":"","website":"","bg_path":"satungeopark","bg_lang":"th","pic":"2023-02-17_08-35-41_satun_1.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/satungeopark\/pic\/profile_upload\/2023-02-17_08-35-41_satun_1.jpg","bg_picshow":null,"bg_watermark":null,"bg_watermarkshow":null,"updated_at":"2021-11-25 02:49:10"},{"museum_code":"38","museum_name":"อุทยานธรณีโลกสตูล","description":"อุทยานธรณีโลกสตูล (Satun UNESCO Global Geopark) หรือ Satun UGGp ตั้งอยู่ทางภาคใต้ของประเทศไทย บริเวณฝั่งทะเลอันดามัน ครอบคลุมพื้นที่ 4 อำเภอในจังหวัดสตูล ได้แก่ อำเภอเมือง (บางส่วน), ละงู, ทุ่งหว้า และมะนัง รวมพื้นที่ประมาณ 2,597.21 ตารางกิโลเมตร\r\n\r\nจุดเริ่มต้นของอุทยานธรณีโลกสตูลเกิดขึ้นจากการค้นพบฟอสซิลช้างดึกดำบรรพ์ชนิดสเตโกดอน อายุประมาณ 1.8 ล้านปีก่อน รวมถึงฟอสซิลสัตว์โบราณชนิดต่างๆ เช่น แรดและกวาง ที่พบในถ้ำวังกล้วย ซึ่งภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น “ถ้ำเลสเตโกดอน” โดยองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหว้าได้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ช้างดึกดำบรรพ์ทุ่งหว้า เพื่อเป็นแหล่งการเรียนรู้และการท่องเที่ยว\r\nในปี 2554 จังหวัดสตูลได้ดำเนินการตามแนวทางของกรมทรัพยากรธรณีในการจัดตั้งอุทยานธรณี โดยมีการจัดตั้งหน่วยงานบริหารงานและแผนบริหารอุทยานธรณี ต่อมาผู้ว่าราชการจังหวัดได้ประกาศจัดตั้งอุทยานธรณีสตูล (Satun Geopark) เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2557 และได้รับการรับรองเป็นอุทยานธรณีโลกจากยูเนสโก (UNESCO Global Geopark) เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2561\r\nการได้รับการรับรองเป็นอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกส่งเสริมการอนุรักษ์ผ่านการท่องเที่ยวเชิงธรณีวิทยา ซึ่งเป็นนวัตกรรมใหม่ในการอนุรักษ์และการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ทำให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จักมากขึ้นทั้งในด้านทรัพยากรธรรมชาติและการท่องเที่ยว อีกทั้งยังเป็นการสร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่น และส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่อย่างยั่งยืน\r\n\r\nอุทยานธรณีโลกสตูลมีลักษณะภูมิประเทศที่โดดเด่นเป็นเทือกเขาหินปูน มีเกาะน้อยใหญ่และชายหาดที่สวยงาม เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สำคัญ โดยเน้นการอนุรักษ์ทั้งทางธรณีวิทยาและสิ่งแวดล้อม พร้อมให้ความรู้เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและการพัฒนาอย่างยั่งยืน\r\nในเขตอุทยานธรณีโลกสตูลยังเป็นพื้นที่ที่บันทึกประวัติศาสตร์ของโลกใต้ทะเลเมื่อประมาณ 500 ล้านปีก่อน ซึ่งเต็มไปด้วยสิ่งมีชีวิตในทะเลยุคดึกดำบรรพ์ ต่อมาเปลือกโลกได้ยกตัวขึ้นกลายเป็นเทือกเขาและถ้ำ ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์โบราณ ปัจจุบันยังคงเป็นแหล่งอาศัยของชนพื้นเมือง และมีวัฒนธรรม วิถีชีวิตที่หลากหลาย\r\n\r\nด้วยความหลากหลายทางภูมิประเทศและธรรมชาติ อุทยานธรณีโลกสตูลจึงเป็นจุดหมายของกิจกรรมการท่องเที่ยวที่หลากหลาย เช่น การล่องแก่ง ดำน้ำ เที่ยวถ้ำ การเยี่ยมชมชายหาดและน้ำตก รวมถึงการเลือกซื้อของฝากจากผลิตภัณฑ์ชุมชนและสัมผัสวัฒนธรรมท้องถิ่น\r\nการท่องเที่ยวในอุทยานธรณีโลกสตูลไม่เพียงแต่ช่วยเสริมสร้างรายได้ให้กับชุมชนท้องถิ่น แต่ยังส่งเสริมความรู้และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนอีกด้วย\r\n","open_date":"","latitude":"7.09092","longitude":"99.7686","address":" 32\/5 416","tambon":"ทุ่งหว้า","ampher":"ทุ่งหว้า","province":"สตูล ","zipcode":"91120","tel":"074789317","email":"","website":"","bg_path":"satungeopark","bg_lang":"th","pic":"2023-02-17_08-35-41_satun_1.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/satungeopark\/pic\/profile_upload\/2023-02-17_08-35-41_satun_1.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-11-25 02:49:10"},{"museum_code":"39","museum_name":"องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว","description":"องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"200","tambon":"4","ampher":"แม่ริม","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"","tel":"053-121585","email":"","website":"https:\/\/donkaewlocal.go.th\/web2018\/","bg_path":"donkaew","bg_lang":"th","pic":"2020-02-25_16-18-37_11110448_1562159137381409_7834215617633050820_o.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/donkaew\/pic\/profile_upload\/2020-02-25_16-18-37_11110448_1562159137381409_7834215617633050820_o.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2020-02-25 14:24:57"},{"museum_code":"40","museum_name":"พิพิธภัณฑ์และจดหมายเหตุ สารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่","description":"เว็บไซต์รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศในรูปแบบ Digital Archives \r\nโดยนักศึกษากระบวนวิชา 009446 การจัดการสารสนเทศล้านนา และ 009445 การจัดการจดหมายเหตุ \r\nภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์\r\nคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่","open_date":"พัฒนาเว็บไซต์โดย NECTEC ติดตามข้อมูล ข่าวสาร และกิจกรรมได้บนเว็บไซต์ตลอด 24 ชั่วโมง\r\nหรือโปรดติดต่อหน่วยงานเฉพาะในเวลาราชการ","latitude":"18.8026","longitude":"98.9515","address":" 239 ถนนห้วยแก้ว ชั้น 4 อาคาร HB5 ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่","tambon":"500108","ampher":"568","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"50200","tel":"053943238","email":"piyapat.j@cmu.ac.th","website":"https:\/\/navanurak.in.th\/glamliscmu","bg_path":"glamliscmu","bg_lang":"th","pic":"2020-05-11_01-59-18_12.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/glamliscmu\/pic\/profile_upload\/2020-05-11_01-59-18_12.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-03-13 08:58:09"},{"museum_code":"41","museum_name":"พิพิธภัณฑ์คัมภีร์ใบลาน ครูบามหาเถร วัดสูงเม่น","description":"วัดสูงเม่น เดิมเรียกว่า “วัดสุ่งเม้น” มีเรื่องเล่าสืบๆ กันมาว่า แต่เดิมสถานที่ตำบลสูงเม่นเป็นป่าไผ่และทุ่งหญ้า รวมถึงป่าไม้เบญจพันธุ์อุดมสมบูรณ์มาก มี “เม่น” ซึ่งเป็นสัตว์ป่าตระกูลหมูอยู่อาศัยเป็นจำนวนมากและประกอบกับสถานที่เป็นที่ทำเลดีมีหญ้าและท่าน้ำบริบูรณ์ พวกพ่อค้าวาณิชย์และคนเดินทางในสมัยอดีตจึงมักจะมาแวะพักแรมกันในบริเวณดังกล่าว จนเรียกพื้นที่ตำบลนี้ว่า “ป๋างสุ่งเม้น” การที่พวกสัตว์และ “เม่น” อาศัยอยู่รวมกันมากหรือมีเม่นมากในบริเวณนี้ คนจึงเรียกเป็นภาษาท้องถิ่นว่า “สุ่ง” ซึ่งได้ชื่อตามนิมิตของฝูงเม่นว่า “บ้านสุ่งเม้น” สำหรับวัดสูงเม่นนั้น ก็เช่นกันถือว่าเป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่งในจังหวัดแพร่มีอายุ ไม่น้อยกว่า ๓๐๐ ปี ตามตำนานเล่าว่า วัดสูงเม่น หรือ ชื่อในคัมภีร์ธรรม ปรากฏชื่อวัดว่า “วัดสุ่งเม้นแก้วกว้าง”เคยมีพื้นที่กว้างขวาง และมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ เจ้าเมือง เจ้าผู้ครองนคร เจ้าราชวงค์ต่าง ๆ ทั้งใน ล้านนา และ ล้านช้าง ต่างเคยมา นมัสการคัมภีร์ธรรมพระไตรปิฎก ณ วัดสูงเม่น อีกทั้งวัดแห่งนี้ ยังเคยเป็น ศูนย์กลางในการทำกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา และเป็น แหล่งการศึกษาเล่าเรียนที่ยิ่งใหญ่ของล้านนา มีวิชาทั้งทางโลกและทางธรรม ครูบาทั้งหลาย ตลอดถึงบัณฑิต นักปราชญ์ ทั้งบรรพชิต และ คฤหัสถ์ในล้านนาหลายท่าน ในอดีตล้วนแล้วแต่เคยมาศึกษา และ จารอักขระธรรมพระไตรปิฏก ณ สถานที่แห่งนี้ เพราะมี เจ้าผู้ครองนครแพร่ และศรัทธาประชาชนให้การอุปถัมภ์อยู่โดยตลอด นอกจากนี้ วัดสูงเม่น ยังเป็นวัดที่ เจ้าเมืองแพร่ เจ้าผู้ครองนคร เจ้าราชวงค์อาณาจักรล้านนา และ ล้านช้าง ต่างให้ความ เคารพนับถือ เป็นอย่างมาก เหตุเพราะเป็นแหล่งจัดเก็บคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ที่ผ่านการทำสังคายนาเป็นจำนวนมาก จากพระมหาเถระผู้เป็นสัพพัญญูแตกฉานในพระไตรปิฏก และ วิปัสสนาญาณระดับขั้นสูง มหาเถระดังกล่าวคือ “ครูบากัญจนอรัญญวาสีมหาเถร” อดีตเจ้าอาวาสวัดสูงเม่น จนมีตำนานปราฏกในธรรมกล่าวว่า วัดสูงเม่น คือ “วัดก๊กวัดเก๊าวัดตุ๊เจ้ามหาเถร” ดังนั้น ถ้ามาเที่ยววัดสูงเม่น จะต้องไม่ลืมไหว้สา หลวงพ่อครูบามหาเถร ด้วย ถึงจะกล่าวได้ว่ามาถึงวัดแล้ว เพราะครูบามหาเถร ถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของ วัดสูงเม่น มาตั้งแต่สมัย เจ้าหลวงอินทรวิชัยราชา เจ้าผู้ครองนครแพร่ ในอดีต ถึงกับมีเจ้าเมืองในอดีตได้ยกย่องว่า “อยากฮ่ำเฮียนดี มีความรุ่งเรืองก้าวหน้า หื้อหมั่นไปไหว้สาคัมภีร์ธรรม และ ขอปอนครูบามหาเถรเจ้า ณ วัดสุ่งเม้น เมืองแป้” จากคำกล่าว ในอดีตที่เล่าสืบต่อกันมานี้ ปัจจุบันจึงมีผู้คนมากราบไหว้คัมภีร์ธรรม ขอพร และ ปิดทอง หลวงพ่อครูบา มหาเถร ณ วัดสูงเม่น อย่างมิขาดสาย “จงสำเร็จ จงสำเร็จ จงสำเร็จ”","open_date":"กรุณาติดต่อสอบถามล่วงหน้า","latitude":"18.0533","longitude":"100.113","address":"201","tambon":"สูงเม่น","ampher":"สูงเม่น","province":"แพร่ ","zipcode":"54130","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"watsungmen","bg_lang":"th","pic":"1377072779IMG_1826.JPG","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/watsungmen\/pic\/big\/1377072779IMG_1826.JPG","bg_picshow":"1","bg_watermark":"watermark.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2025-07-01 06:59:55"},{"museum_code":"42","museum_name":"พิพิธภัณฑ์ศาลปกครองและหอจดหมายเหตุศาลปกครอง","description":"พิพิธภัณฑ์ศาลปกครองและหอจดหมายเหตุศาลปกครอง เริ่มจัดตั้งขึ้นเป็นทางการในนามกลุ่มงานจดหมายเหตุ สังกัดกองงานห้องสมุด\r\nกฎหมายมหาชน สำนักงานศาลปกครอง ในปี ๒๕๔๖ ต่อมาปรับเปลี่ยนเป็นกลุ่มจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ สังกัดสำนักหอสมุดกฎหมายมหาชน สำนักงานศาลปกครอง ในปี ๒๕๔๘ โดยได้ดำเนินการจัดหาและจัดเก็บเอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับความเป็นมาของศาลปกครอง \r\nและการดำเนินงานสำคัญของศาลปกครอง จัดเก็บเป็นเอกสารจดหมายเหตุศาลปกครอง และนำข้อมูลเหล่านั้นมาจัดสร้างพิพิธภัณฑ์ศาลปกครอง \r\nเพื่อบอกเล่าประวัติความเป็นมาเริ่มจากจุดกำเนิดของกระบวนการยุติธรรมทางปกครองไทย ที่ลำดับเรื่องราวการร้องทุกข์ของประชาชนไทยตั้งแต่สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชเป็นต้นมา จนกระทั่งได้แต่งตั้งคณะที่ปรึกษาราชการแผ่นดินขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ วิวัฒนาการของกระบวนการยุติธรรมทางปกครอง ที่เป็นผลมาจากสถานการณ์ทางการเมืองที่ผันเปลี่ยนไปตามกาลเวลา จนนำไปสู่การจัดตั้งองค์กรวินิจฉัยคดีปกครอง \r\nและจัดตั้งศาลปกครองเป็นผลสำเร็จในสมัยรัชกาลที่ ๙ ที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ บัญญัติให้จัดตั้งศาลปกครองแยกต่างหากจากศาลอื่น ทำให้ประเทศไทยมีองค์กรตุลาการที่ทำหน้าที่วินิจฉัยชี้ขาดคดีปกครองเพื่ออำนวยความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นในสังคม\r\nนับแต่นั้นเป็นต้นมา โดยพิพิธภัณฑ์ศาลปกครอง ตั้งอยู่บนชั้น ๒ อาคารศาลปกครอง ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการแก่นักเรียน นิสิต นักศึกษา นักวิชาการ ข้าราชการและประชาชนทั่วไป ตลอดจนชาวต่างประเทศที่สนใจเข้าศึกษาเยี่ยมชม โดยไม่มีค่าใช้จ่าย","open_date":"เปิดให้เข้าชมทุกวันตาม เวลาราชการ","latitude":"13.8896","longitude":"100.566","address":"เลขที่ 120 หมู่ที่ 3","tambon":"แขวงทุ่งสองห้อง","ampher":"เขตหลักสี่","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10210","tel":"02-141-0682","email":"niramol_t@admincourt.go.th","website":"www.admincourt.go.th","bg_path":"amclib","bg_lang":"th","pic":"S__29171743.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/amclib\/pic\/big\/S__29171743.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"watermark.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2020-06-30 14:34:35"},{"museum_code":"43","museum_name":"รักอ่าวปัตตานี","description":"อ่าวปัตตานี (Pattani Bay) ตั้งอยู่ในจังหวัดปัตตานี มีชะงอยปากอ่าวที่เรียกว่าแหลมตาชี ยื่นออกไปในแนวตะวันตก-ตะวันออก ก่อตัวเป็นแนวสันทรายออกไปในทะเลในแนวที่เกือบขนานกับพื้นแผ่นดิน โอบล้อมพื้นที่ตอนในของอ่าว ส่วนปลายของแหลมตาชีโค้งงอเข้าหาฝั่งคล้ายเป็นตะขอ \r\nอ่าวปัตตานีมีลักษณะเป็นอ่าวที่มีอัตราการตกตะกอนสูง โดยได้รับอิทธิพลจากแม่น้ำสำคัญ 2 สาย คือ แม่น้ำยะหริ่งและแม่น้ำปัตตานี จึงเกิดดินดอนที่มีลักษณะเป็นหาดโคลนกว้างใหญ่และพัฒนามาเป็นป่าชายเลนที่สมบูรณ์ เป็นพื้นที่ที่มีความสมบูรณ์ทางชีวภาพสูง เป็นแหล่งอนุบาลและเพาะพันธุ์สัตว์น้ำที่สำคัญนานาชนิด และมีทรัพยากรอื่น ๆ เป็นองค์ประกอบของระบบนิเวศชายฝั่ง เช่น หญ้าทะเล สาหร่ายทะเล นกน้ำ หาดโคลน หาดทราย ป่าชายหาด ป่าสันทราย เป็นต้น","open_date":"ชุดโครงการวิจัย \"การใช้ฐานทรัพยากรชีวภาพของอ่าวปัตตานี สู่การใช้ประโยชน์โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน อย่างมีประสิทธิภาพ ยั่งยืนและมั่นคง\"\r\nมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ","latitude":"6.88213","longitude":"101.236","address":" 181 หมู่ที่ 6","tambon":"รูสะมิแล","ampher":"เมืองปัตตานี","province":"ปัตตานี ","zipcode":"94000","tel":"081-9598522","email":"sutha.psu@gmail.com","website":"","bg_path":"PattaniBay","bg_lang":"th","pic":"2023-10-17_09-36-20_2023-09-12_17-39-56_2020-05-31_16-38-07_50949591_2033056336785028_9188855734043934720_n.jpeg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/PattaniBay\/pic\/profile_upload\/2023-10-17_09-36-20_2023-09-12_17-39-56_2020-05-31_16-38-07_50949591_2033056336785028_9188855734043934720_n.jpeg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-23 03:33:58"},{"museum_code":"44","museum_name":"ชุมชนบ้านท่าระแนะ","description":" บ้านท่าระแนะ ตำบลหนองคันทรง จังหวัดตราด เป็นหมู่บ้านตั้งอยู่ริมคลอง เรียกกันว่าคลองเจ๊ก ที่อยู่ในพื้นที่ป่าชายเลนอายุเก่าแก่กว่า 200 ปี ต้นไม้แต่ละต้นมีขนาดใหญ่ เป็นผืนป่าชายเลนขนาดใหญ่เนื้อที่ประมาณ 2,000 ไร่ ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์เป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ รวมถึงคอยหล่อเลี้ยงชีวิตของคนในชุมชนมายาวนาน ซึ่งความโดดเด่นในความเก่าแก่ ความหลากหลายทางชีวภาพและความอุดมสมบูรณ์ของป่าชายเลนบ้านท่าระแนะทำให้เกิดลักษณะพื้นที่ที่เป็นเอกลักษณ์ มีเสน่ห์สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยว เช่น ลานตะบูน อุโมงค์โกงกาง อุโมงค์จาก อ่าวตราด นอกจากนี้ยังมีอาหารพื้นถิ่นคาวหวานที่มาจากสัตว์ทะเลและพืชในท้องถิ่นซึ่งมีความสดรสชาติอร่อยเป็นเอกลัษณ์ของท่าระแนะ นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมต่างๆที่มาจากภูมิปัญญาของชุมชนที่นักท่องเที่ยวสามารถร่วมกิจกรรมกรรมได้ เช่น โบว์ลิ่งตะบูน จิบกาแฟแลตะวัน ผ้ามัดย้อมจากลูกตะบูน หมวกใบคันทรง สบู่ใบคันทรง กิจกรรมการอนุรักษ์คอนโดปูและปลูกหอย รวมถึงวิถีชีวิตของชาวประมงในท้องถิ่นที่นักท่องเที่ยวสามารถเข้าศึกษาและทำกิจกรรมร่วมได้ เช่น การหาหอยพอก การดักลอบปูในป่าโกงกาง และในชุมชนยังมีโฮมสเตย์ไว้คอยบริการนักท่องเที่ยวที่ต้องการพักผ่อนและต้องการความสงบเติมพลังให้กับชีวิตทั้งหมดนี้คือแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่หาได้ยากยิ่ง แต่ท่านจะได้พบทั้งหมดนี้ ณ บ้านท่าระแนะ ดังคำที่ว่า \"มหัศจรรย์ป่าชายเลนบ้านท่าระแนะ\"","open_date":"แจ้งล่วงหน้า และเข้าชมฟรี","latitude":"12.1858","longitude":"102.554","address":" บ้านท่าระแนะ","tambon":"หนองคันทรง","ampher":"เมืองตราด","province":"ตราด ","zipcode":"23000","tel":"0811616694","email":"","website":"","bg_path":"Ban_Tha_Ranae","bg_lang":"th","pic":"2021-10-31_11-16-09_ป้ายชื่อ.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/Ban_Tha_Ranae\/pic\/profile_upload\/2021-10-31_11-16-09_ป้ายชื่อ.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-11-26 02:23:24"},{"museum_code":"45","museum_name":"Sukhothai’s Ban Nong Or Community at a Glance ","description":"Set amid sprawling yet idyllic villages along “Maenam Yom”, Nong Or stands out as one of Thailand’s most important historical communities dating back 700 years ago. Located just outside the ancient Si Satchanalai Wall, the area is dotted with many archeological sites and significant artifacts revolving around a folklore of legendary Phra Ruang,(พระร่วง) presumably the founder of the first Thai kingdom. \r\n Notably among the numerous historical sites are the much-reveled ceramic production ruins called “Tao Turiang”(เตาทุเรียง) – named after a traditional kiln that is synonymous with outstanding craftsmanship producing Si Satchanalai’s style pottery for over centuries. \r\n Located on a riparian expanse, the riverside Nong Or is also famous for a unique multicultural hot spot as there still remains a sporadic settlement of sub-ethnic “Lao Krang” (ลาวครั่ง or sometimes known as “Thai Krang” ไทยครั่ง) who migrated from the eastern side of the Maekong in Luang Prabang. While co-existing peacefully with Thai locals, the majority of Lao Krang community has staunchly kept up with their treasured wisdoms; from customs to traditions and from crafts to cuisines. \r\n Some of the exemplary hallmarks of Lao Krang culture include; “Ram Kiew Khaen” ( รำเกี้ยวแคน - a traditional Lao dance choreographed by the rhythm of a bamboo mouth organ as a key instrument), “Hae Phi Nang Dong” (แห่ผีนางด้ง - a procession to pay homage to a mythical ghost). \r\n For food aficionados, Lao Krang has a variety of local fares to offer: a must-try dish is “Gaeng Yuak Sai Thua Kiew Giew Mue” (แกงหยวกใส่ถั่วเขียวเกี่ยวมือ - a coconut milk-based curry with banana stem and roasted mung bean). In addition, Lao Krang is honoured for their creation of exceptional hand-woven fabric “Pah Thai Krang” ( ผ้าไทยครั่ง ), of which vivid red dye is extracted from an insect “Krang” (Laccifera chinensis Mahdihassan). With the combination of their meticulous weaving skill and an innate ability for creative designs, the ethnic group is able to masterfully turn the vibrant red colour from the indigenous insects into a range of magnificent handicrafts embellished with various patterns. \r\n","open_date":"","latitude":"17.4783","longitude":"99.7635","address":" 0","tambon":"หนองอ้อ","ampher":"ศรีสัชนาลัย","province":"สุโขทัย ","zipcode":"64000","tel":"055-672-204-6","email":"","website":"https:\/\/www.nongo.go.th\/home","bg_path":"NONGOR","bg_lang":"th","pic":"2021-10-01_16-02-20_Screenshot-_295_.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/NONGOR\/pic\/profile_upload\/2021-10-01_16-02-20_Screenshot-_295_.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-06-23 08:38:13"},{"museum_code":"45","museum_name":"素可泰 Nong O 社区","description":"Nong O 社区是一个拥有 700 多年历史的古老聚居地。“英雄帕鲁昂的土地”传说中记载,当时,素可泰府塞差奈莱县城墙外的人民以简单的方式维持着生计。这里还是 Yom 河遗址,例如,红土考古遗址 “Kaeng Luang” 和素可泰时期宋加洛瓷器生产源头“杜兰炉”。这个社区世代传承了素可泰府宋加洛陶瓷的智慧,还融合了湄公河岸少数民族的传统文化。比如,从琅勃拉邦迁来的 “Lao Khrang” 族,如今被称为 “Tai Khrang”。 Tai Khrang 人有独特的文化传统,例如 Kiaw Khaen 舞蹈、Nang Dong 鬼游行和绿咖喱绿豆佳肴等等。除此之外,这里也是泰式梭织布的发源地。梭织布由紫胶染色,紫胶是一种属于蚜虫群的小昆虫,呈自然红色。充满智慧的当地人会用天然染色的方式创造出独特的图案。Nong O 社区的古老的智慧都是泰老民族文化相融合的象征。","open_date":"","latitude":"17.4783","longitude":"99.7635","address":" 0","tambon":"หนองอ้อ","ampher":"ศรีสัชนาลัย","province":"สุโขทัย ","zipcode":"64000","tel":"055-672-204-6","email":"","website":"https:\/\/www.nongo.go.th\/home","bg_path":"NONGOR","bg_lang":"th","pic":"2021-10-01_16-02-20_Screenshot-_295_.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/NONGOR\/pic\/profile_upload\/2021-10-01_16-02-20_Screenshot-_295_.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-06-23 08:38:13"},{"museum_code":"45","museum_name":"ชุมชนบ้านหนองอ้อ สุโขทัย","description":"ชุมชนหนองอ้อ ถิ่นฐานชาวไทยโบราณกว่า 700 ปี กับวิถีชีวิตอันเรียบง่ายนอกเขตกำแพงเมืองศรีสัชนาลัยดินแดนแห่งตำนานพระร่วง แหล่งอารยธรรมโบราณริมฝั่งแม่น้ำยมที่มี \"แก่งหลวง\" ขวางกั้น โบราณสถานที่ก่อด้วยศิลาแลง แหล่งอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องสังคโลกด้วยเตาเผาแบบโบราณมีนามว่า \"เตาทุเรียง\" ชุมชนแห่งนี้มีการสืบทอดภูมิปัญญาการปั้นเครื่องสังคโลกตามแบบฉบับนครศรีสัชนาลัยจากรุ่นสู่รุ่น อีกทั้งยังปะปนด้วยชาวชาติพันธุ์จากฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงเข้ามาตั้งตัวในชุมชนคือชาว \"ลาวครั่ง\" ที่อพยพมาจากหลวงพระบาง ปัจจุบันเรียกว่า \"ไทครั่ง\" ชาวไทครั่งมีวัฒนธรรมประเพณีที่เฉพาะ เช่น รำเกี้ยวแคน แห่ผีนางด้ง แกงหยวกใส่ถั่วเขียวเกี่ยวมือเมนูรสเด็ด และยังเป็นต้นกำเนิด \"ผ้าไทครั่ง\" ที่ย้อมด้วยสีจากครั่ง (Laccifera chinensis) แมลงตัวเล็ก ๆ เป็นสัตว์กลุ่มเดียวกับเพลี้ย ที่ให้สีแดงจากธรรมชาติจนก่อเกิดลวดลายอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน จึงเกิดการผสานวัฒนธรรมของชาติพันธุ์ไทย-ลาว อย่างลงตัวตามแบบฉบับของชุมชนหนองอ้อ ","open_date":"องค์การบริหารส่วนตำบลหนองอ้อ เป็นหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นที่เกิดขึ้นตามนโยบายการกระจายอำนาจสู่หน่วยการปกครองชั้นพื้นฐานของรัฐบาล โดยพระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์บริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2547 (ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2549 และมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2549) กำหนดให้องค์การบริหารส่วนตำบลมีฐานะเป็นนิติบุคคลและราชการบริหารส่วนท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบล ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม สำหรับองค์การบริหารส่วนตำบลหนองอ้อ ได้ประกาศจัดตั้งขึ้นเมื่ปี พ.ศ. 2549 เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลชั้น 5 โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 113 ตอน 9ง ลงวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2549 ตั้งอยู่บริเวณตอนใต้ของอำเภอศรีสัชนาลัย ห่างจากจังหวัดสุโขทัยไปเป็นระยะทางประมาณ 60 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 101 (สุโขทัย - ศรีสัชนาลัย) องค์การบริหารส่วนตำบลหนองอ้อมีขนาดพื้นที่ 87.4 ตารางกิโลเมตร หรือ 54,625 ไร่ \r\nคณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลหนองอ้อ \r\n1. นายนนธ์ มานิตย์ นายก \r\n2. นายชัชชัย ชุ่มชื่น รองนายก \r\n3. นายสมปอง ชะม้าย รองนายก \r\n4. นายสมาน ช่างเจรจา เลขานุการ ","latitude":"17.4783","longitude":"99.7635","address":" 0","tambon":"หนองอ้อ","ampher":"ศรีสัชนาลัย","province":"สุโขทัย ","zipcode":"64000","tel":"055-672-204-6","email":"","website":"https:\/\/www.nongo.go.th\/home","bg_path":"NONGOR","bg_lang":"th","pic":"2021-10-01_16-02-20_Screenshot-_295_.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/NONGOR\/pic\/profile_upload\/2021-10-01_16-02-20_Screenshot-_295_.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-06-23 08:38:13"},{"museum_code":"46","museum_name":"ชุมชนไทญ้อ บ้านโพน","description":"ความเป็นมาชุมชนบ้านโพน เป็นคนไทยย้อ ถิ่นฐานดั้งเดิมของชาวย้อมีผู้ค้นพบว่า เดิมอยู่ แคว้นสิบสองปันนา หรือ ยูนาน ต่อมาชาวย้อบางพวกได้อพยพลงมาตามลำน้ำโขงเพื่อเลือกหาที่ตั้ง บ้านตั้งเมืองที่อุดมสมบรูณ์กว่าที่อยู่เดิมจนในที่สุด ชาวย้อกลุ่มหนึ่งได้พบว่าตรงปากน้ำสงครามริมฝั่งโขง เป็นที่อุดมสมบรูณ์ มีปลาชุกชุม จึงได้จัดตั้งขึ้นที่เมืองหงสา แขวงไชยบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ส่วนใหญ่ได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานใหม่ที่ไชยบุรี ปากน้ำสงคามริมฝั่งแม่น้ำโขง (ตำบลไชยบุรี อำเภอ ท่าอุเทน จังหวัดนครพนมปัจจุบัน) ในสมัยรัชกาลที่ 1 เมื่อ พ.ศ. 2351 ต่อมาเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์ได้เป็นกบฏต่อกรุงเทพมหานครในสมัยรัชกาลที่ 3 (พ.ศ. 2369) ไทยย้อเมืองไชยบุรีได้ถูกกองทัพเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์กวาดต้อนให้อพยพข้ามโขง โดยให้ไปตั้งอยู่ที่เมืองปุงลิง ฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง (อยู่ในเขตแขวงเมืองคำเกิด เมืองคำม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว) อยู่ระยะหนึ่ง (ชัญญา อภิปาลกุล และ ขลธิชา เจิมพันธุ์. 2552 : 50) ต่อมากองทัพไทย ได้กวาดต้อนให้ไทยย้ออพยพข้ามโขงกลับมาอีกครั้งหนึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ไทยย้อกลุ่มหนึ่งตั้งเมืองขึ้นใหม่ทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ตั้งเป็นเมืองท่าอุเทน เมื่อ พ.ศ. 2373 คือ บริเวณท่าอุเทน จังหวัดนครพนมในปัจจุบัน\r\n\r\nในส่วนของไทญ้อชุมชนบ้านโพน ตำบลโนนตาล อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม นั้นไม่มีการบันทึกเป็นหลักฐานว่า ได้ตั้งรกรากที่บ้านโพนเมื่อใด แต่จากคำบอกเล่าของชาวบ้านหลายๆ คนและข้อมูลหลายอย่างประกอบกันสามารถเชื่อมโยงได้ว่า ไทญ้อบ้านโพน เป็นกลุ่มที่อพยพจากเมืองท่าอุเทน และบางส่วนก็มาจากฝั่งลาว ออกมาอาศัยตามหัวไร่ปลายนาเพื่อหาที่ดินทำกิน เมื่อครั้งแรกประมาณ 4 ครัวเรือน ได้แก่ พ่อเฒ่ากิตติราช ครัวเรือนนี้ย้ายมาจากบ้านท่ากระถิน ฝั่งลาว ส่วนพ่อเฒ่าแก้ว ก่านจันทร์ พ่อเฒ่าเหม็น นครัง และพ่อเฒ่าแดงน้อย สุวรรณมาโจ ย้ายออกมาจากบ้านท่าอุเทน จากนั้น ก็มีผู้คนอพยพจากเมืองท่าอุเทนเข้ามาบุกเบิก สร้างบ้านอาศัยอยู่ด้วยกัน (ชัญญา อภิปาลกุล และ ขลธิชา เจิมพันธุ์. 2552 : 50) \r\n\r\nในปัจจุบัน ชาวไทยย้อ ชุมชนบ้านโพนมีอาชีพด้านเกษตรเป็นหลัก โดยเฉพาะการปลูกพืชเศรษฐกิจส่วนใหญ่ได้แก่ ข้าว กล้วย อ้อย สับปะรด ยาสูบ และพืชผักตามฤดูกาล รองลงมาได้แก่ อาชีพเลี้ยงสัตว์ และจับสัตวน้ำในลำน้ำ เนื่องจากว่ามีการตั้งถิ่นฐานอยู่ใกล้แม่น้ำโขงและแม่น้ำสงคราม อัตลักษณ์ของชุมชนบ้านโพน อัตลักษณ์ของชาวไทยย้อ ชุมชนบ้านโพน จะมีความสามัคคี มีความภาคภูมิใจ ในความเป็นชนเผ่าดั้งเดิม นอกจากจะมีระบบวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิมที่ทำกันมาตั้งแต่อดีต สิ่งแสดงถึง เอกลักษณ์ของชาติพันธุ์ไทยย้อได้เป็นอย่างดี อีกอย่างหนึ่งก็คือ ภาษาไทยย้อ ชาวบ้านโพนยังคงพูดคุยสื่อสารกันโดยภาษาย้อกันทั้งชุมชน ","open_date":"ติดต่อสอบถามล่วงหน้า","latitude":"17.5205","longitude":"104.61","address":" ชุมชนไทญ้อ บ้านโพน","tambon":"โนนตาล","ampher":"ท่าอุเทน","province":"นครพนม ","zipcode":"48120","tel":"0802065787","email":"","website":"","bg_path":"taiyorbanpone","bg_lang":"th","pic":"2021-10-24_16-15-52_typorama.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/taiyorbanpone\/pic\/profile_upload\/2021-10-24_16-15-52_typorama.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"P8210245.JPG","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2022-06-06 09:49:01"},{"museum_code":"46","museum_name":"Tai Yor, Ban Phon Community","description":"The Ban Phon Community consists mainly of the Tai Yo people. It was discovered that their original settlement was in Xishuangbanna or Yunnan Province. Later, some groups of the Yor people migrated down the Mekong River in search of land that was more fertile than their original home. Finally, a group of the Yor people discovered that the Songkhram estuary on the banks of the Mekong River was fertile land with abundant fish so they settled at Hongsa, Sainyabuli Province, Lao People’s Democratic Republic. Most of the Yor people then migrated to the Songkhram estuary on the banks of the Mekong River (currently in Chaiburi Subdistrict, Tha Uthen District, Nakhon Phanom Province) in the reign of King Rama I in 1808. After that, during the reign of King Rama III (1826) when Chao Anouvong of Vientiane rebelled against Siam, the Tai Yor people at Chaiyaburi were forcibly evacuated by Chao Anouvong’s army and settled at Pung Ling on the left bank of the river (Khamkoed City, Khammouane Province, Lao People’s Democratic Republic) for some time. Later, the Siamese army evacuated the Tai Yor people from across the Mekong River back to Siam. King Nangklao graciously granted land to the Tai Yor people to settle on the right bank of the Mekong River with the name of Tha Uthen in 1830, this is now known as Tha Uthen District, Nakhon Phanom Province. For the Tai Yor people at Ban Phon, Non Tan Subdistrict, Tha Uthen District, there has been no record of the period of their settlement. However, according to the hearsay of many villagers, coupled with other information, we can assume that the Tai Yor people at Ban Phon were the group evacuated from Tha Uthen, and some of them were from Laos. At first there were four households, namely Pho Thao Kittirat family, which moved from Ban Tha Krathin in Laos, whereas the Pho Thao Kaeo Khan Chan, Pho Thao Mhen Nakarang, and Pho Thao Daeng Suwannamajo’s families, moved from Tha Uthen. Addition groups then followed from Tha Uthen to establish a town. Nowadays, the Tai Yor people rely mainly on agriculture growing crops, such as rice, banana, sugar cane, pineapple, tobacco, and seasonal vegetables. This is augmented by animal husbandry and fishing, as they reside near the Mekong River and the Songkram River. The identity of Tai Yor people at Ban Phon community represents the unity and pride of their traditional background. In addition to their ancient culture and tradition, another factor that indicates the characteristics of the Tai Yor people is the Tai Yor language, which is spoken by the entire Ban Phon village.","open_date":"","latitude":"17.5205","longitude":"104.61","address":" ชุมชนไทญ้อ บ้านโพน","tambon":"โนนตาล","ampher":"ท่าอุเทน","province":"นครพนม ","zipcode":"48120","tel":"0802065787","email":"","website":"","bg_path":"taiyorbanpone","bg_lang":"th","pic":"2021-10-24_16-15-52_typorama.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/taiyorbanpone\/pic\/profile_upload\/2021-10-24_16-15-52_typorama.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"P8210245.JPG","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2022-06-06 09:49:01"},{"museum_code":"46","museum_name":"半坡村(Ban Phon)泰瑶(Thai Yo)少数民族村","description":"半坡村是泰瑶少数民族聚居区。这个民族的原居住地据说是云南西双版纳,后来部分族人为了寻找更宜居的地方,就沿着湄公河搬迁,迁到宋坎(Songkhram)河口(湄公河一岸)的时候,发现那里渔产丰富,就在老挝沙耶武里的洪萨市定居下来。因此,在公元1808年拉玛一世王时期,泰瑶族大部分族人都居住在沙耶武里的宋坎河口湄公河一岸(现泰国那空拍侬府塔武泰县沙耶武里镇)。后来到了公元1826年拉玛三世王时期,万象王国的昭阿努翁国王背叛了暹罗国,泰瑶族被昭阿努翁国王的军队驱赶跨到湄公河的另一岸,在湄公河左岸的彭岭(Pongling)(老挝甘蒙市康克特县)居住了一段时间(查雅·阿披巴本、查蒂差·珍彭,2009 : 50)。后来,暹罗军队又将泰瑶族赶了回来。公元1830年,拉玛三世王特批准让部分族民在湄公河右岸定居,并将那里命名为塔武泰,也就是现在的那空拍侬府塔武泰县。在所有的记载中,并没有证据显示泰瑶族是什么时候来到半坡的,但是根据村民们口口相传以及其他相关资料可以猜想到,半坡的泰瑶族民是从塔武泰迁移来的,还有部分来自老挝,来到这里开荒种地生活。原来这里只有4户人家,即从老挝塔家欣村迁来的吉迪拉一家,以及从塔武泰村迁来的凯·甘真一家、敏·那卡郎一家和丹挪·苏翁玛卓一家,后来又有其他族民从塔武泰村迁来,在这里居住(查雅·阿披巴本、查蒂差·珍彭,2009: 50)。如今,半坡村的泰瑶族民主要从事农业生产,主要种植经济作物,如水稻、香蕉、甘蔗、菠萝、烟草、以及各类时令蔬菜。其次是畜牧业和渔业,因为这里靠近湄公河和宋坎河。半坡泰瑶少数民族村的特点是村民团结,他们因自己是这里的原著民而感到自豪,除了有自己的传统习俗外,另一个可以展示其独特性的就是泰瑶民族语言,半坡全村的人都仍在使用泰瑶语交流沟通。","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":" ","tambon":"โนนตาล","ampher":"ท่าอุเทน","province":"นครพนม ","zipcode":"","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"taiyorbanpone","bg_lang":"th","pic":"2021-10-24_16-15-52_typorama.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/taiyorbanpone\/pic\/profile_upload\/2021-10-24_16-15-52_typorama.jpg","bg_picshow":null,"bg_watermark":null,"bg_watermarkshow":null,"updated_at":"2022-06-06 09:49:01"},{"museum_code":"47","museum_name":"ชุมชนท่องเที่ยวย่านเมืองเก่าภูเก็ต","description":"จังหวัดภูเก็ต ดินแดนแห่งไข่มุกอันดามันอุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรทั้งทางบกและทางทะเล สวรรค์ของนักท่องเที่ยวที่ต้องมาเยือนซักครั้งในชีวิต นอกจากภูเก็ตจะเป็นที่ต้องตาต้องใจของนักท่องเที่ยวแล้ว ยังมีชุมชนย่านเมืองเก่าที่หล่อหลอมวัฒนธรรมหลากหลายรูปมารวมกัน เมื่อผ่านเข้าไปในย่านเมืองเก่าภูเก็ตจะสะดุดตากับตึกแถวแบบโบราณเรียงรายสองฝั่งถนน ที่เป็นร่องรอยประวัติศาสตร์อันรุ่งเรืองสมัยรัชกาลที่5 ยุคสมัยการทำเหมืองแร่เฟื่องฟู ให้ได้สัมผัส เสน่ห์สถาปัตยกรรมชิโน-โปรตุกีส และชมความงดงามแบบคลาสสิค ชาวบ้านย่านเมืองเก่า จึงริเริ่มเก็บรวบรวมข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของอาคารชิโนโปตุกีสพร้อมทั้งอนุรักษ์ และพัฒนาเมืองเก่าให้ลูกหลานได้เห็นคุณค่าสืบต่อไป","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":" 49","tambon":"ตลาดใหญ่","ampher":"เมืองภูเก็ต","province":"ภูเก็ต ","zipcode":"83000","tel":"0843053960, 0945959451","email":"oldphukettowncbt@gmail.com","website":"https:\/\/takeme.tours\/localcommunity-phuket","bg_path":"TALAT_YAI","bg_lang":"th","pic":"2021-11-16_15-28-32_PKT0386.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/TALAT_YAI\/pic\/profile_upload\/2021-11-16_15-28-32_PKT0386.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-04-12 10:46:54"},{"museum_code":"47","museum_name":"普吉老城旅遊社區","description":"普吉府安達曼珍珠的土地擁有豐富的陸地和海洋資源。一生必去一次的旅遊天堂。除了普吉島是遊客必去的地方。老城區還有一個社區,共同塑造了多種文化。穿過普吉老城,您會注意到道路兩旁的古董店屋。這是拉瑪五世在位輝煌歷史的痕跡欣欣向榮的礦業時代 體驗中葡建築魅力欣賞經典之美老城區的村民因此發起了中葡建築史料的收集和保存工作發展老城,讓孩子看到未來的價值","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":" 49","tambon":"ตลาดใหญ่","ampher":"เมืองภูเก็ต","province":"ภูเก็ต ","zipcode":"83000","tel":"0843053960, 0945959451","email":"oldphukettowncbt@gmail.com","website":"https:\/\/takeme.tours\/localcommunity-phuket","bg_path":"TALAT_YAI","bg_lang":"th","pic":"2021-11-16_15-28-32_PKT0386.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/TALAT_YAI\/pic\/profile_upload\/2021-11-16_15-28-32_PKT0386.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-04-12 10:46:54"},{"museum_code":"48","museum_name":"ชุมชนบ้านท่าดินแดง พังงา","description":"ภาพความงดงามของระบบนิเวศ ทั้งป่าชายเลนที่ล้อมรอบหมู่บ้าน ชายหาดที่สวยงาม พืชผักอาหารการกินที่อุดมสมบูรณ์ของชุมชนบ้านท่าดินแดง เกิดขึ้นจากความร่วมมือร่วมแรงร่วมใจกันของชาวบ้าน ที่พร้อมใจกันพลิกฟื้นสภาพพื้นที่ที่ได้รับความเสียหายจากคลื่นยักษ์สึนามิ เมื่อปี พ.ศ. 2547 ชุมชนมีการปรับเปลี่ยนทิศทางการดำเนินชีวิต มองทรัพยากรธรรมชาติที่มีให้เป็นต้นทุน ที่จะส่งเสริมเรื่องการท่องเที่ยวของชุมชน จนมาถึงวันที่ทุกคนยิ้มต้อนรับ เปิดบ้านรับนักท่องเที่ยวให้เข้าไปชมความงดงามของชุมชนบ้านท่าดินแดง ทั้งบนบก ในน้ำ และในครัว","open_date":"","latitude":"8.50984","longitude":"98.2348","address":" 0","tambon":"ท้ายเหมือง","ampher":"ท้ายเหมือง","province":"พังงา ","zipcode":"82000","tel":"084-443-3539","email":"","website":"","bg_path":"THA_DIN_DAENG","bg_lang":"th","pic":"2021-11-21_11-50-30_PN0704.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/THA_DIN_DAENG\/pic\/profile_upload\/2021-11-21_11-50-30_PN0704.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-06-14 10:28:06"},{"museum_code":"49","museum_name":"ชุมชนบ้านโคกเมือง","description":"ชุมชนบ้านโคกเมือง \"มาแล้วจะรู้ อยู่แล้วจะรัก\" คำขวัญท่องเที่ยวชุมชนที่มักจะได้ยินจากนักสื่อความหมายชุมชนอยู่เสมอ คำขวัญนี้คำขวัญที่ไม่เกินจริงของชุมชนบ้านโคกเมือง ชุมชนมีจุดเด่นอยู่ที่การอยู่ร่วม เข้าถึงและใช้ประโยชน์จากโบราณสถาน อารยธรรมขอมโบราณ คือ \"ปราสาทเมืองต่ำ\" \"ปราสาทเขาปลายบัด 1 และปราสาทเขาปลายบัด 2\" ที่ชุมชนตั้งรายล้อมอยู่ ในเชิงการจัดการท่องเที่ยวเชิงอารยธรรม วัฒนธรรมประเพณี รวมถึงความเชื่อต่าง ๆ ของชุมชน รวมถึงเรื่องเล่าเชิงประวัติศาสตร์ต่าง ๆ ได้ถูกร้อยเรียงและนำเสนอผ่านประเพณี \"ฮีตสิบสอง\" นั่นคือชุมชนมีกิจกรรมนำเสนอวิถีชีวิต ประเพณีที่สืบทอดตลอดทั้งปี ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา ผู้หญิงส่วนใหญ่รวมกลุ่มทอผ้าไหม ผ้าฝ้าย การทำผ้ามัดย้อม การทอเสื่อกก และทำงานฝีมือต่าง ๆ ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น ยิ่งไปกว่านั้นผักพื้นบ้าน อาหารประจำถิ่น เป็นอีกหนึ่งเสหน่ห์ที่ต้องลิ้มลอง การเดินเท้าข้าป่าเพื่อเก็บผัก เก็บหน่อโจด ดอกกระเจียวมาจิ้มน้ำพริก มาปรุงอาหารรับประทานที่โฮมสเตย์ ยิ่งทำให้ได้สัมผัสถึงความเป็นโคกเมือง ความพอเพียงที่เพียงพอ รวมถึงมีการตั้งกลุ่มการเรียนรู้วิถีชุมชนถึง 10 กลุ่ม เพื่อนำเสนอวิถีชีวิต การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การใช้ชีวิตกินอยู่แบบพอเพียง ชวนให้ทำความเข้าใจและสัมผัสถึงวิถีชีวิตชุมชนบนพื้นฐานการใช้ทรัพยากรอย่างพอเพียง","open_date":"ชุมชนบ้านโคกเมือง เป็นชุมชนที่่ตั้งอยู่ในเขตโบราณสถานหลายแห่ง โดยมีโบราณสถานสำคัญคือ ปราสาทเมืองต่ำ, อโรคยาศาล, ปราสาทเขาปลายบัด ฯลฯ การเข้าชมโบราณสถานนั้น ควรแต่งกายรัดกุม ในช่วงเวลากลางวันอากาศจะค่อยข้างร้อน แดดอาจแรงควรเตรียมหมวก ร่ม หรืออุปกรณ์กันแดดตามสะดวก บริเวณรอบโบราณสถานมีร้านอาหารให้บริการอยู่บ้าง อาทิร้านก๋วยเตี๋ยวและอาหารตามสั่ง ร้านส้มตำ หรือร้านเครื่องดื่ม ชุมชนมีฐานการเรียนรู้สามารถติดต่อเข้าเยี่ยมชมได้และมีค่าบริการสำหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการทำ workshop ในแต่ละฐาน ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เด่น คือ ผ้าทอลายผักกูด ผ้าฝ้ายทอมือสีกลีบบัว (หมักโคลน 1000 ปี) มีที่พักในรูปแบบโฮมสเตย์ที่ชุมชนรวมกลุ่มกันดำเนินการและมีกิจกรรมอื่น ๆ ที่น่าสนใจให้ร่วมกิจกรรมอีกมากมาย สามารถติดต่อเข้าพักหรือทำกิจกรรมกับชุมชนได้ที่ คุณพาพัชร์ โทร 0802828239 หรือ คุณส้มเกลี้ยง (แม่น้อย) 0918295163","latitude":"14.4934","longitude":"102.981","address":"0","tambon":"จรเข้มาก","ampher":"ประโคนชัย","province":"บุรีรัมย์ ","zipcode":"31000","tel":"0802828239","email":"","website":"","bg_path":"BanKhokMueang","bg_lang":"th","pic":"2021-09-29_18-00-36_DSC00009.JPG","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/BanKhokMueang\/pic\/profile_upload\/2021-09-29_18-00-36_DSC00009.JPG","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-05-24 09:15:52"},{"museum_code":"50","museum_name":"บ้านสุขสมบูรณ์","description":"บ้านสุขสมบูรณ์ “ห่มหมอก ฟอกปอด กอดภูเขา” ที่ หมู่บ้านสุขสมบูรณ์ อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา หมู่บ้านที่เหมาะสำหรับการพักผ่อน แคมป์ปิ้ง ชิมผักปลอดสารพิษ ผลหมาก รากไม้ นานาชนิด และเห็ดกินได้ หลากหลายสายพันธุ์ ทั้งที่ขึ้นเองตามธรรมชาติ และเห็ดที่เพาะขายจากฟาร์มเห็ดทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ สวนสมุนไพร ว่านต่าง ๆ นานาชนิด กิจกรรมชุมชนชวนสัมผัสวิถีชีวิตชาวสวน ชาวไร่ ทั้งไร่มัน ไร่พริก ไร่กาแฟ หรืออยากจะลองปลูกข้าว เกี่ยวข้าว บนโคก อยากตื่นเช้าไปตัดยาง ก็มีกิจกรรมจัดให้ได้ ไปเดินชิมผลไม้สด ๆ จากสวน ก็สามารถทำได้ หรือหากนักท่องเที่ยวสนใจทำกิจกรรมตามฐานการเรียนรู้ของชุมชน หรืออยากจะไปตั้งแคมป์ที่ผาเก็บตะวัน ก็มีกิจกรรมที่หลากหลายและพื้นที่ให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัสกับธรรมชาติก็ย่อมได้\r\n","open_date":"สำหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการทำกิจกรรมกับชุมชน ควรติดต่อกับผู้นำชุมชนล่วงหน้า เพื่อการอำนวยความสะดวกและการเตรียมฐานการเรียนรู้ หากต้องการมาตั้งแคมป์ สามารถเช่าพื้นที่ในการตั้งแคมป์ได้ บริเวณอ่างเก็บน้ำห้วยขมิ้น โดยนักท่องเที่ยวต้องเตรียมอุปกรณ์แคมป์มาเอง สามารถตกปลา บริเวณอ่างเก็บน้ำห้วยขมิ้นได้ มีกิจกรรมการยิงหนังสติ๊กปลูกป่า ขึ้นไปชมธรรมชาติและตั้งแคมป์ได้อีกที่หนึ่งคือผาเก็บตะวัน หมู่บ้านแห่งนี้เหมาะกับการพักผ่อนช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์และการตั้งแคมป์มาก การเดินทางเข้าชุมชนด้วยรถยนต์สะดวกมาก","latitude":"14.3461","longitude":"101.942","address":" หมู่ที่ 2","tambon":"ไทยสามัคคี","ampher":"วังน้ำเขียว","province":"นครราชสีมา ","zipcode":"30000","tel":"0933723122 คุณบังอร","email":"","website":"","bg_path":"BanSukSomboon","bg_lang":"th","pic":"2021-10-24_21-15-05_C0025T01.JPG","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/BanSukSomboon\/pic\/profile_upload\/2021-10-24_21-15-05_C0025T01.JPG","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-05-24 09:18:51"},{"museum_code":"50","museum_name":"素松本村(Baan Suksomboon)","description":"素松本村,位于泰国呵叻府旺南桥(Wang Nam Khiao)县,是一个能让人感受到“雾气缭绕,清净心肺,拥抱山丘”的休闲度假小镇。在这里,可以放松身心休息,可以露营,可以品尝各类天然无公害绿色蔬菜和水果,包括各种可食用的野生菌和农场培育菌,以及养生草药等。在这里有多样的活动供旅客选择,可以体验当地村民的生活,这里种植有各种作物,有地瓜、辣椒和咖啡,可以尝试插秧、收割稻谷,可以早起去割胶,可以走进果园,尝尝新鲜的水果。如果感兴趣,也可以参与社区的各种学习活动,或去山上露营,与大自然来个亲密接触,都是不错的选择。","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":" ","tambon":"ไทยสามัคคี","ampher":"วังน้ำเขียว","province":"นครราชสีมา ","zipcode":"","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"BanSukSomboon","bg_lang":"th","pic":"2021-10-24_21-15-05_C0025T01.JPG","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/BanSukSomboon\/pic\/profile_upload\/2021-10-24_21-15-05_C0025T01.JPG","bg_picshow":null,"bg_watermark":null,"bg_watermarkshow":null,"updated_at":"2022-05-24 09:18:51"},{"museum_code":"51","museum_name":"หมู่บ้านดำเนินสะดวก","description":"หมู่บ้านดำเนินสะดวก","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"หมู่บ้านดำเนินสะดวก","tambon":"ดำเนินสะดวก","ampher":"ดำเนินสะดวก","province":"ราชบุรี ","zipcode":"70000","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"kdns","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-03-01 09:55:40"},{"museum_code":"52","museum_name":"通过博素克(Bo Suak)方式了解难府","description":"博素克是个位于山谷中央的安静社区,距难府市中心仅15分钟路程,这里文明也代代相传。人们通过对古窑的发掘,重现了过去的艺术成就并建立了博物馆,陈列发现的陶器、展示博素克人的生活方式、社区中人们之间的牢固关系、传统与文化,以及上普萨内(Phu Sa Ngued)山向帕塔坛猜(Phra That Than Jai)致敬的传统。 \r\n","open_date":"","latitude":"18.7472","longitude":"100.684","address":" 0","tambon":"สวก","ampher":"เมืองน่าน","province":"น่าน ","zipcode":"55000","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"bosuak","bg_lang":"th","pic":"2021-10-07_14-56-42_Slide2.JPG","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/bosuak\/pic\/profile_upload\/2021-10-07_14-56-42_Slide2.JPG","bg_picshow":"1","bg_watermark":"messageImage_1612421836545.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2022-02-02 10:08:55"},{"museum_code":"52","museum_name":"รู้จักน่าน...ผ่านวิถีบ่อสวก","description":"ชุมชนบ่อสวก ชุมชนเงียบสงบกลางหุบเขา ซึ่งห่างจากตัวเมืองน่านเพียง 15 นาทีเท่านั้น มีภูมิปัญญาที่มีชีวิตที่ผ่านการส่งต่อมรดกจากรุ่นสู่รุ่น ความเจริญทางศิลปะของคนในอดีตได้รับการรื้อฟื้นจากการขุดพบเตาเผาโบราณ ก่อให้เกิดการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์เพื่อจัดแสดงภาชนะดินเผาที่พบ รวมถึงจัดแสดงวิถีชีวิตของชาวบ่อสวก โดยจะเห็นถึงความสัมพันธ์อันเหนียวแน่นของคนในชุมชน\r\nประเพณีและวัฒนธรรม\r\nประเพณีขึ้นดอยภูสะงืดไหว้สาพระธาตุทันใจ\r\n","open_date":"","latitude":"18.7472","longitude":"100.684","address":" 0","tambon":"สวก","ampher":"เมืองน่าน","province":"น่าน ","zipcode":"55000","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"bosuak","bg_lang":"th","pic":"2021-10-07_14-56-42_Slide2.JPG","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/bosuak\/pic\/profile_upload\/2021-10-07_14-56-42_Slide2.JPG","bg_picshow":"1","bg_watermark":"messageImage_1612421836545.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2022-02-02 10:08:55"},{"museum_code":"52","museum_name":"Get to know Nan Province through Bo Suak Way","description":"Bo Suak is a quiet community in the middle of a valley with the distance of only 15 minutes from the town of Nan province.\r\nLiving community wisdom has been passing from generation to generation. Restoring artistic achievements of the past from excavations of ancient kilns leads to the establishment of a museum, in which the found potteries are being displayed as well as the lifestyle of Bo Suak people, tradition and culture are here exhibited, etc. the tradition of paying respect to Phra That Than Jai on the Phu Sa Ngued Mountain.\r\n","open_date":"","latitude":"18.7472","longitude":"100.684","address":" 0","tambon":"สวก","ampher":"เมืองน่าน","province":"น่าน ","zipcode":"55000","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"bosuak","bg_lang":"th","pic":"2021-10-07_14-56-42_Slide2.JPG","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/bosuak\/pic\/profile_upload\/2021-10-07_14-56-42_Slide2.JPG","bg_picshow":"1","bg_watermark":"messageImage_1612421836545.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2022-02-02 10:08:55"},{"museum_code":"53","museum_name":"ไทยเบิ้ง บ้านโคกสลุง ","description":"พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทยเบิ้งโคกสลุงก่อตั้งขึ้นจากแรงบันดาลใจของชาวบ้าน โดยผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านได้ร่วมกันหาแนวทางในการฟื้นประเพณีและวัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวไทยเบิ้งขึ้นมาใหม่ เพื่อให้ชาวบ้านได้ระลึกถึงวัฒนธรรมพื้นบ้านของบรรพบุรุษชาวไทยเบิ้งในตำบลโคกสลุง ","open_date":"","latitude":"14.9925","longitude":"100.915","address":" 99\/3 หมู่ 3 ","tambon":"โคกสลุง","ampher":"พัฒนานิคม","province":"ลพบุรี ","zipcode":"15140","tel":"084-978-6782","email":"","website":"https:\/\/thaibuengkhoksalung.com\/","bg_path":"thaibuengkhoksalung","bg_lang":"th","pic":"2021-10-13_11-46-50_พิพิธภัณฑ์เรือนฝาค้อไทยเบิ้ง.JPG","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/thaibuengkhoksalung\/pic\/profile_upload\/2021-10-13_11-46-50_พิพิธภัณฑ์เรือนฝาค้อไทยเบิ้ง.JPG","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-01-12 12:44:44"},{"museum_code":"53","museum_name":"Thai Berng Khok Salung folk musuem","description":"Thai Berng Khok Salung folk museum was founded by the inspiration of the villagers. The elders in the village came together to find a way to restore Thai Berng folk tradition and culture in order to help the villagers to remember the local culture of the Thai Berng ancestors in Khok Salung Sub-district.","open_date":"","latitude":"14.9925","longitude":"100.915","address":" No. 99\/3, Moo 3","tambon":"โคกสลุง","ampher":"พัฒนานิคม","province":"ลพบุรี ","zipcode":"15140","tel":"084-978-6782","email":"","website":"https:\/\/thaibuengkhoksalung.com\/","bg_path":"thaibuengkhoksalung","bg_lang":"th","pic":"2021-10-13_11-46-50_พิพิธภัณฑ์เรือนฝาค้อไทยเบิ้ง.JPG","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/thaibuengkhoksalung\/pic\/profile_upload\/2021-10-13_11-46-50_พิพิธภัณฑ์เรือนฝาค้อไทยเบิ้ง.JPG","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-01-12 12:44:44"},{"museum_code":"53","museum_name":"泰邦鹄撒龙的民俗博物馆","description":"泰邦鹄撒龙的民俗博物馆是在村民的灵感启发下成立的。村里的长者们一起想方设法振兴泰邦的传统和民俗文化,让村民能记住泰邦鹄撒龙祖先的本土文化。","open_date":"","latitude":"14.9925","longitude":"100.915","address":" 鹄撒龙社区位于华富里府、帕塔纳尼空县、鹄撒龙区、3号区、 99\/3 号、邮编15140","tambon":"โคกสลุง","ampher":"พัฒนานิคม","province":"ลพบุรี ","zipcode":"15140","tel":"084-978-6782","email":"","website":"https:\/\/thaibuengkhoksalung.com\/","bg_path":"thaibuengkhoksalung","bg_lang":"th","pic":"2021-10-13_11-46-50_พิพิธภัณฑ์เรือนฝาค้อไทยเบิ้ง.JPG","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/thaibuengkhoksalung\/pic\/profile_upload\/2021-10-13_11-46-50_พิพิธภัณฑ์เรือนฝาค้อไทยเบิ้ง.JPG","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-01-12 12:44:44"},{"museum_code":"54","museum_name":"乌通古城社区的回顾陀罗缽地","description":"陀罗缽地的乌通古城社区是泰国重要的考古遗址之一,位于素攀武里府,乌通县,乌通分区,Sampan河的西岸城市呈椭圆形,东北,和西南边具有围绕着城市的土沟。在城市和周边地区发现许多陀罗缽地文化的古代遗迹和文物。乌通城自史前晚期以来就是一座古老的港口城市。它是东南亚第一个受印度文化影响的古代国家。","open_date":"","latitude":"14.368","longitude":"99.8485","address":" ","tambon":"อู่ทอง","ampher":"อู่ทอง","province":"สุพรรณบุรี ","zipcode":"72160","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"U_Thong_Travel","bg_lang":"th","pic":"2021-11-03_12-54-19_ทวารวดี.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/U_Thong_Travel\/pic\/profile_upload\/2021-11-03_12-54-19_ทวารวดี.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-07-02 09:02:53"},{"museum_code":"54","museum_name":"ย้อนรอยทวารวดี ชุมชนเมืองโบราณอู่ทอง","description":"ชุมชนเมืองโบราณทวารวดีอู่ทอง เป็นแหล่งโบราณคดีที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำจระเข้สามพัน ตำบลอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี มีลักษณะของเมืองเป็นรูปวงรีหันไปตามแนวทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ มีคูน้ำคันดินล้อมรอบเมือง ภายในตัวเมืองและบริเวณปริมณฑลพบโบราณสถานและโบราณวัตถุในวัฒนธรรมแบบทวารวดีเป็นจำนวนมาก เมืองอู่ทองเป็นเมืองท่าโบราณมาตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย เป็นรัฐโบราณรุุ่นแรกในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอินเดีย","open_date":"","latitude":"14.368","longitude":"99.8485","address":" ","tambon":"อู่ทอง","ampher":"อู่ทอง","province":"สุพรรณบุรี ","zipcode":"72160","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"U_Thong_Travel","bg_lang":"th","pic":"2021-11-03_12-54-19_ทวารวดี.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/U_Thong_Travel\/pic\/profile_upload\/2021-11-03_12-54-19_ทวารวดี.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-07-02 09:02:53"},{"museum_code":"54","museum_name":"Recalling Dvaravati-U-Thong ancient city community","description":"Dvaravati-U-Thong ancient city community is one of Thailand’s important archaeological sites, locating on the west bank of Jorakae Sampan River, U-tong Subdistrict, Wutong District, Suphanburi Province. The city has an oval shape facing northeast. There are earthen ditches surrounding the city on the southwest. There are numbers of Dvaravati ancient monuments and artifacts were discovered in the inner city and its surrounding areas. U-Thong City is an ancient port city since late prehistorical period. It is the one of first ancient states in southeast Asia, which was influenced by Indian culture.","open_date":"","latitude":"14.368","longitude":"99.8485","address":" ","tambon":"อู่ทอง","ampher":"อู่ทอง","province":"สุพรรณบุรี ","zipcode":"72160","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"U_Thong_Travel","bg_lang":"th","pic":"2021-11-03_12-54-19_ทวารวดี.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/U_Thong_Travel\/pic\/profile_upload\/2021-11-03_12-54-19_ทวารวดี.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-07-02 09:02:53"},{"museum_code":"55","museum_name":"มหาวิทยาลัยพะเยา ","description":"","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":" 19 หมู่ 2","tambon":"แม่กา","ampher":"เมืองพะเยา","province":"พะเยา ","zipcode":"56000","tel":"","email":"","website":"https:\/\/biotourism.net","bg_path":"UnseenofPhayao","bg_lang":"th","pic":"2023-12-22_08-39-23_2021-07-20_16-18-38_บ้านถ้ำ18.jpeg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/UnseenofPhayao\/pic\/profile_upload\/2023-12-22_08-39-23_2021-07-20_16-18-38_บ้านถ้ำ18.jpeg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-09-18 06:25:16"},{"museum_code":"56","museum_name":"ท่องเที่ยวชุมชนตำบลลำดวน","description":" ชุมชนตำบลลำดวนเป็นชาติพันธุ์ของคนไทยเชื้อสายเขมร ก่อตั้งเมื่อปีพุทธศักราชที่ 2370 ปีระกา โดยมีการอพยพมาจากบ้านเพี้ยราม และบ้านแสรออร์ จังหวัดสุรินทร์ สาเหตุที่อพยพมา เนื่องจากหนีการส่งส่วย และการเกณฑ์ทหาร จึงได้มาตั้งถิ่นฐานอยู่ตำบลลำดวน ซึ่งเขตพื้นที่ที่ตั้งหมู่บ้านมีต้นลำดวนเป็นจำนวนมาก จึงตั้งชื่อหมู่บ้านลำดวนมาจนถึงปัจจุบัน\r\n ชุมชนตำบลลำดวน มีทั้งหมด 18 หมู่บ้าน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม มีอาชีพเสริม คือ การทอผ้าไหม รวมไปถึงการปลูกหม่อน เลี้ยงไหม โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่มีการสืบทอดมาอย่างยาวนาน มีประเพณีและวัฒนธรรมที่โดดเด่น มีความเชื่อตามแบบฉบับโบราณ อาทิ มะม๊วด แสนโฎนตา รำตรด เป็นต้น\r\n ชุมชนตำบลลำดวน เป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีทรัพยากรที่สำคัญ คือ ป่าชุมชน ห้วยเจมิง ลำน้ำชี มีสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญ 6 แห่ง คือ 1. ลำน้ำชี 2. วัดบ้านลำดวน 3. วัดยาง 4. โครงการส่งเสริมศิลปาชีพฯ 5.โครงการฟาร์มตัวอย่างฯ และ 6. ป่าชุมชน","open_date":"วันและเวลาทำการ วันจันทร์-วันอาทิตย์","latitude":"15.0689","longitude":"103.385","address":"","tambon":"ลำดวน","ampher":"กระสัง","province":"บุรีรัมย์ ","zipcode":"31160","tel":"0810640553","email":"Pitiwan.fk@bru.ac.th","website":"https:\/\/www.museumpool.com\/thne_pkld","bg_path":"LAMDUAN","bg_lang":"th","pic":"2021-11-23_14-40-18_326062.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/LAMDUAN\/pic\/profile_upload\/2021-11-23_14-40-18_326062.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"243226300_136845778667519_3370490843150068739_n.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2021-11-27 12:40:08"},{"museum_code":"57","museum_name":"องค์การบริหารส่วนตำบลส้าน","description":"ในอดีต มีราษฎรอาศัยตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณริมฝั่งแม่น้ำน่านเพราะมีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างสูงโดยมีราษฎรอยู่ไม่กี่หลังคาเรือนแต่ด้วยความสะดวกสบายในการใช้น้ำเพื่ออุปโภคบริโภครวมทั้งการทำการเกษตรกรรมจึงทำให้ราษฎรจากบริเวณอื่น ๆ ย้ายเข้ามาอยู่อาศัยเพิ่มมากขึ้นที่ตั้งของหมู่บ้านเดิมมีชื่อว่า “พระเนตร” ซึ่งมีวัดพระเนตรเป็นศูนย์รวมจิตใจ และมีต้นไม้ใหญ่ชื่อ “ต้นส้าน” อยู่ล้อมรอบเป็นจำนวนมาก ชาวบ้านจึงใช้เป็นสัญลักษณ์ของหมู่บ้าน ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2476 เกิดน้ำท่วมครั้งใหญ่ติดต่อกัน 3 ครั้ง สร้างความเสียหายให้กับราษฎรเป็นจำนวนมาก ราษฎรจึงอพยพมาตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ปัจจุบัน ซึ่งห่างจากพื้นที่เดิมไม่ไกลนักและได้ปลูกต้นส้านเป็นอนุสรณ์บริเวณหน้าวัดนาส้าน เมื่อหมู่บ้านมีจำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้นจึงได้รับยกฐานะเป็นตำบลส้าน ซึ่งปัจจุบันได้แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 10 หมู่บ้าน ด้วยกัน","open_date":"กรุณาติดต่อสอบถามล่วงหน้า","latitude":"18.2133","longitude":"99.3363","address":"","tambon":"ส้าน","ampher":"เวียงสา","province":"น่าน ","zipcode":"550706","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"sanlocal","bg_lang":"th","pic":"2020-08-31_15-23-52_243692_114139418730331_817747102_o.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/sanlocal\/pic\/profile_upload\/2020-08-31_15-23-52_243692_114139418730331_817747102_o.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2020-08-31 14:30:12"},{"museum_code":"58","museum_name":"องค์การบริหารส่วนตําบลไชยสถาน","description":"องค์การบริหารส่วนตําบลไชยสถาน","open_date":"กรุณาติดต่อสอบถามล่วงหน้า","latitude":"18.773","longitude":"100.721","address":"10 หมู่ 9 ","tambon":"ไชยสถาน","ampher":"เมืองน่าน","province":"น่าน ","zipcode":"55000","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"chaisathan","bg_lang":"th","pic":"2020-08-31_16-02-46_40592927_2082546818740229_1542834479872081920_o.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/chaisathan\/pic\/profile_upload\/2020-08-31_16-02-46_40592927_2082546818740229_1542834479872081920_o.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2020-08-31 14:31:20"},{"museum_code":"59","museum_name":"มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย","description":"Maechan old town","open_date":"ย่านตัวเมืองเก่าแม่จัน บริเวณตลอดสองฝากฝั่งถนน ถนนไชยบุรี, ถนนหิรัญนคร, ถนนราชบุรี, ถนนนาคพันธุ, ถนนสิงหนวัต, ถนนลาวจกราชยังคงพบกลุ่มอาคาร ประกอบไปด้วย กลุ่มอาคารราชการ กลุ่มอาคารสถาบันการศึกษา บ้านเรือนอยู่อาศัยสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น และกลุ่มอาคารเรือนแถวไม้ที่สลับกับรูปแบบอาคารสมัยใหม่, ศาสนาสถานที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของผู้คนในด้านความเชื่อที่หลากหลายประกอบไปด้วย ศาสนาพุทธ ศาลเจ้าของกลุ่มชาวจีน ตลอดจนยังคงพบวิถีชีวิตวัฒนธรรม อาหาร ประเพณี พิพิธกรรม และภูมิปัญญาที่น่าสนใจและมีคุณค่าการศึกษา","latitude":"0","longitude":"0","address":"80 ซอย 9","tambon":"บ้านดู่","ampher":"เมือง","province":"เชียงราย ","zipcode":"57100","tel":"","email":"","website":"https:\/\/social.crru.ac.th\/","bg_path":"maechanoldtown","bg_lang":"th","pic":"2020-10-25_12-23-36_IMG20200510123201.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/maechanoldtown\/pic\/profile_upload\/2020-10-25_12-23-36_IMG20200510123201.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2020-08-31 16:06:25"},{"museum_code":"60","museum_name":"แหล่งท่องเที่ยวและศูนย์การเรียนรู้ตำบลแม่กรณ์","description":"ตำบลแม่กรณ์ ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองเชียงรายไปทางทิศตะวันตก ระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร ตามถนนเด่นห้า–ดงมะดะ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงรายเส้นทางที่สามารถเข้าถึงตำบลแม่กรณ์มีอยู่ 2 เส้นทางหลัก คือ\r\nเส้นทางที่ 1 เดินทางตามเส้นทาง ถนนสายเด่นห้า – ดงมะดะ (ถนนหมายเลข 1211)\r\nเส้นทางที่ 2 เดินทางตามเส้นทางถนนสาย วัดร่องขุ่น – สวนดอก (จากทางหลวงหมายเลข 1 เข้าสู่\r\n เส้นทางถนนหมายเลข 1208 และถนนหมายเลข 1211) \r\nชุมชนท่องเที่ยวในตำบลแม่กรณ์ เกิดขึ้นจากโครงการบริหารจัดการขยะในชุมชนของแต่ละชุมชน ในพื้นที่ตำบลแม่กรณ์ และพัฒนาหมู่บ้านที่มีความพร้อมทั้งด้านทรัพยากร ความร่วมมือ และการบริหารจัดการของผู้นำในชุมชน ให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบเกี่ยวกับแนวคิดด้านการส่งเสริมหมู่บ้านท่องเที่ยวโดยชุมชน เปิดโอกาสให้คนภายนอกได้เข้ามาเรียนรู้วิถีชีวิต ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรม เส้นทางธรรมชาติ จากแหล่งท่องเที่ยวภายในชุมชน\r\n","open_date":"สามารถติดต่อประสาานงานผ่านองค์การบริหารส่วนตำบลแม่กรณ์ได้ในวันและเวลาทำการราชการ\r\nวันจันทร์ - ศุกร์ (่ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์)\r\n","latitude":"19.8508","longitude":"99.7298","address":"หมู่ 13","tambon":"แม่กรณ์","ampher":"เมือง","province":"เชียงราย ","zipcode":"57000","tel":"053-726-368-9","email":"","website":"https:\/\/www.maekorn.go.th","bg_path":"tambonmaekorn","bg_lang":"th","pic":"2020-09-23_00-29-44_maekornlogo.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/tambonmaekorn\/pic\/profile_upload\/2020-09-23_00-29-44_maekornlogo.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2020-09-01 08:36:59"},{"museum_code":"61","museum_name":" จังหวัดแม่ฮ่องสอน","description":" จังหวัดแม่ฮ่องสอน","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":" ","tambon":"","ampher":"","province":"แม่ฮ่องสอน ","zipcode":"58000","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"maehongson","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2020-09-01 08:38:04"},{"museum_code":"62","museum_name":"ตรอกมะตูม","description":"ชุมชนตรอกมะตูม เดิมตรอกนี้มีชื่อว่า “ตรอกสวนอนันต์” ภายหลังเปลี่ยนมาเป็น “ตรอกมะตูม” ตามวิถีชีวิตของชาวบ้านในชุมชน ปัจจุบันชุมชนตั้งอยู่ในซอยอรุณอมรินทร์ 23 แต่ผู้คนยังคงเรียกว่าตรอกมะตูม ในอดีตชุมชนนี้ประกอบอาชีพทำเปลือกส้มโอเชื่อม จากนั้นจึงเปลี่ยนมาทำมะตูมเชื่อมแทน สมัยก่อนมีชาวบ้านไม่กี่หลังคาเรือนที่ทำมะตูมเชื่อม แต่หลังจากเวลาผ่านไปก็เริ่มมีการทำมะตูมขายเพิ่มมากขึ้นกลายมาเป็นอาชีพเอกลักษณ์ของชุมชนตรอกมะตูมนี้ โดยการทำมะตูมเชื่อมนั้นจะเริ่มทำในเดือนกรกฎาคมจนถึงเดือนมีนาคม และรออีก 4 เดือนเพื่อรอการออกผลรอบใหม่ของผลมะตูม มะตูมที่ชาวบ้านนำมาเชื่อมนั้นมาจากจังหวัดนครปฐม พิจิตร สุพรรณบุรี ปราจีนบุรี เป็นต้น\r\n ในยุคสมัยปัจจุบัน ค่านิยมของผู้คนไม่นิยมทานขนมไทยโบราณ และยังต้องแข่งกับขนมสมัยใหม่ ชาวบ้านในชุมชนตรอกมะตูมเชื่อมจึงต้องปรับตัวให้เข้ากับยุคสมัยโดยนำมะตูมเชื่อมมาประยุกต์เป็นรูปแบบต่าง ๆเช่นเค้กมะตูม วุ้นมะตูมนมสดเป็นต้น ปัจจุบันเหลือเพียงไม่กี่บ้านที่ประกอบอาชีพเชื่อมมะตูม และยังให้คำตอบไม่ได้ว่าจะสามารถสืบทอดไปอีกนานแค่ไหน","open_date":"ผู้เยี่ยมเป็นบุคคลทั่วไปไม่จำกัดเพศ และอายุ เป็นผู้ที่สนใจวิถีชีวิตดั้งเดิม และการทำขนมไทยโบราณ ","latitude":"13.75","longitude":"100.481","address":"","tambon":"แขวงบ้านช่างหล่อ","ampher":"บางกอกน้อย","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10700","tel":"081-447-5451, 095-251-6094, 085-311-1503, 096-838-0619","email":"","website":"","bg_path":"baelfruitcommunity","bg_lang":"th","pic":"2020-11-25_01-58-46_bael community.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/baelfruitcommunity\/pic\/profile_upload\/2020-11-25_01-58-46_bael community.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2020-10-05 11:21:59"},{"museum_code":"63","museum_name":"Baan Silapin","description":"ที่มาเป็นกลุ่มที่รวมตัวกันหลังจากออกจากหุ่นละครเล็กโจหลุยส์ ซึ่งได้นำความรู้จากศาสตร์การทำหุ่นมาสืบทอดต่อที่บ้านศิลปินแห่งนี้ และสามารถนำหุ่นที่ทำขึ้นไปแสดงต่อเพื่อเป็นการสืบทอดวัฒนธรรมสืบต่อไป ซึ่งบ้านศิลปินแห่งนี้มีอายุยาวนานกว่า 100 ปี ภายในประกอบไปด้วยงานศิลปะหลายแขนง ได้แก่ การจัดแสดงภาพวาดและภาพถ่าย อีกทั้งยังมีการเรียนการสอนจิตกรรม นาฎศิลป์ การทำหุ่นละครเล็ก การทำเครื่องประดับ เป็นต้น และบ้านศิลปินมีการแสดงประจำ คือ การแสดงหุ่นละครเล็ก (หุ่นละครเล็กสิปปธรรมคำนาย คลองบางหลวง) บ้านศิลปินนั้นมีความแตกต่างเนื่องจากมีลักษณะทางสถาปัตยกรรมเป็นอาคารไม้ทรงมะนิลาและมีความตั้งใจเปิดเป็นสาธารณะ เพื่อให้นักท่องเที่ยวหรือผู้ที่มีความสนใจนั้นได้เข้ามาเรียนรู้และศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งทุนในการทำสิ่งต่าง ๆ จะเป็นรายได้ที่มาจากการจ้างงานไปแสดงข้างนอกหรือฐานลูกค้าเดิม ","open_date":"","latitude":"13.7308","longitude":"100.462","address":"309","tambon":"คูหาสวรรค์","ampher":"ภาษีเจริญ","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10160","tel":"0848807340","email":"","website":"","bg_path":"baansilapin","bg_lang":"th","pic":"2020-11-07_15-36-44_S__78209392.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/baansilapin\/pic\/profile_upload\/2020-11-07_15-36-44_S__78209392.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2020-10-05 13:22:11"},{"museum_code":"64","museum_name":"มัสยิดบ้านตึกดิน","description":" ปัจจุบันมัสยิดบ้านตึกดินตั้งอยู่ที่ถนนราชดำเนินกลาง ใกล้กับวัดบวรนิเวศวิหาร ติดกับโรงเรียนสตรีวิทยา ใกล้กับอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เป็นมัสยิดแห่งที่2 บนพื้นที่ ที่เรียกว่า เกาะรัตนโกสินทร์ที่มีบรรพชน โดยมัสยิดบ้านตึกดิน เป็นชุมชนดั้งเดิมมีอายุกว่า 80 ปี เนื้อที่ประมาณ 4.3 ไร่ คนในชุมชนส่วนใหญ่เป็นชาวมุสลิมที่แต่เดิมอาศัยอยู่แถบจังหวัดปัตตานี แล้วย้ายมาอยู่กรุงเทพฯที่ได้อพยพติดตามญาติพี่น้องที่ถูกกวาดต้อนมาในสมัยสงครามปัตตานี-สยามยุทธ พ.ศ.2329 และตั้งถิ่นฐานรกรากกันอยู่บริเวณรอบๆพระบรมมหาราชวัง และมีประชาชนบางส่วนได้ขยับขยายการสร้างบ้านเรือนมาจนถึงบริเวณที่เป็นที่เก็บดินปืน \r\n\r\n\r\n ในสมัยต้นรัชกาลที่ 6 และรวมตัวกันเรียกว่า ชาวบ้านตึกดิน ซึ่งหมายถึง ตึกที่เก็บดินปืน มาตั้งแต่ครั้งกระโน้น โดยมี บะแล เป็นสถานที่ประกอบศาสนกิจ (อัลอิบาดะฮ์) ของชาวบ้านตึกดินและได้จัดให้มีการละหมาดตารอเวียะฮ์และละหมาดในวันอี๊ดทั้งสอง ต่อมาในปี พ.ศ.2525 ได้เกิดเพลิงไหม้บะแลและชุมชนในหมู่บ้านทำให้ชาวบ้านไม่มีที่อยู่อาศัย บางบ้านก็ย้ายของไปอาศัยอยู่กับญาติพี่น้องในพื้นที่อื่นๆ แต่ยังมีชาวบ้านตึกดินส่วนใหญ่ที่พยายามปลูกสร้างบ้านเรือนขึ้นในพื้นที่ของตัวเองไม่ย้ายออกไปไหน และมีการรวบรวมเงินที่พี่น้องมุสลิมร่วมกันบริจาคเพื่อที่จะสร้างมัสยิดบ้านตึกตีนขึ้นมาเพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านตึกดิน\r\n \r\n มัสยิดบ้านตึกดินถูกสร้างขึ้นบนพื้นที่บะแลเดิม โดยได้รวบรวมเงินมา ซื้อที่ดินจากเจ้าของเดิมได้สำเร็จและเริ่มการก่อสร้างในปี พ.ศ.2525 ซึ่งในการก่อสร้างมัสยิดบ้านตึกดินดังนี้เราได้พยายามจะหารายได้จากการจัดงานการกุศลมุสลิมบ้านตึกดินขึ้นในวันที่ 4-5 ธันวาคมของทุกๆปีตั้งแต่ปีพ.ศ. 2525 เป็นต้น จนกระทั่งมัสยิดได้สร้างเสร็จสมบูรณ์โดยความร่วมมือร่วมใจกันของชาวบ้านตึกดิน ภายหลังมัสยิดบ้านตึกดินได้มีการเพิ่มชื่อภาษาอาหรับด้วยโดยเรียกชื่อเต็มๆว่า มัสยิดบ้านตึกดิน (ดาริสซุนนะห์) ซึ่งมีความหมายว่า บ้านแห่งแบบอย่างของท่านศาสดา และด้วยพระมหาการุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร รัชกาลที่9 สมัยที่ยังทรงมีพระชนชีพอยู่นั้นมัสยิดบ้านตึกดินได้ร่วมเฉลิมฉลองเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาของรัชกาลที่9 ณ ถนนราชดำเนินกลางเป็นประจำทุกปี โดยมัสยิดบ้านตึกดินได้จัดงานการกุศลมุสลิมบ้านตึกดินขึ้นเพื่อหารายได้ในการก่อสร้างอาคารมัสยิดบ้านตึกดินจนเสร็จสมบูรณ์แล้ว","open_date":"","latitude":"13.7581","longitude":"100.5","address":"139 ซอยดำเนินกลางเหนือ","tambon":"วัดบวรนิเวศ","ampher":"พระนคร","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10200","tel":"087-705-2299 (ผู้นำชุมชน)","email":"","website":"","bg_path":"masjidbantuekdin","bg_lang":"th","pic":"2020-11-14_15-04-13_IMG_3758.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/masjidbantuekdin\/pic\/profile_upload\/2020-11-14_15-04-13_IMG_3758.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"IMG_3743.HEIC","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2020-10-05 13:59:52"},{"museum_code":"65","museum_name":"บางด้วน (Bang Duan)","description":"เครื่องจักสาน \"จาก\" หัวใจ แหล่งอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นชุมชนบางด้วน โดยชุมชนบางด้วน เป็นชุมชนเล็ก ๆ ที่ตั้งอยู่ใกล้กับปากแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณจังหวัดสมุทรปราการ ไม่ไกลจากโรงไฟฟ้าพระนครใต้ ผู้คนส่วนใหญ่ดำรงชีวิตอยู่คู่กับสายน้ำ ทำประมง ล่องเรือรับจ้าง ทำงานโรงงาน และบางส่วนสร้างอาชีพด้วยการใช้ประโยชน์จากพืชท้องถิ่นอย่างต้นจากที่มีอยู่จำนวนมากในแถบนี้ ซึ่ง \"ต้นจาก\" สามารถใช้ประโยชน์ได้แทบทุกส่วน ไม่มีส่วนใดที่จะต้องทิ้ง \"จาก\" ไปโดยเปล่าประโยชน์ รวมถึง \"ต้นจาก\" เป็นพืชท้องถิ่นที่สามารถพบเห็นได้ตลอดริมสองฝั่งคลองบางด้วน ยาวสุดลูกหูลูกตาจวบไปจนถึงปลายคลองที่เชื่อมออกไปสู่แม่น้ำเจ้าพระยา แต่ก็แซมไปด้วยต้นโกงกาง ลำพู และพันธุ์ไม้ป่าชายเลนอื่น ๆ แต่เพราะต้นจากนั้นโตเร็วและขยายพันธุ์ตามธรรมชาติได้ง่าย บางช่วงหนาแน่นมาก ชาวบ้านจึงต้องช่วยกันตัดออกเพื่อไม่ให้ปิดกั้นคลองหรือขวางทางน้ำจนกลายเป็นคลองปิด จึงเป็นที่มาของ \"จาก\" ที่ไม่มีวันหายไปจากบางด้วนนั่นเอง","open_date":"","latitude":"13.6182","longitude":"100.574","address":"","tambon":"บางด้วน","ampher":"เมืองสมุทรปราการ","province":"สมุทรปราการ ","zipcode":"10200","tel":"+668 149 00222","email":"","website":"https:\/\/www.bangduan.go.th\/index.php","bg_path":"bangduan","bg_lang":"th","pic":"2020-11-09_14-33-56_71250280_102432764492183_3999863924202668032_o.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/bangduan\/pic\/profile_upload\/2020-11-09_14-33-56_71250280_102432764492183_3999863924202668032_o.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2020-10-05 14:43:34"},{"museum_code":"66","museum_name":"\"Baan Yuan\" ชุมชนบ้านญวน","description":" \"ชุมชนบ้านญวน\" ตั้งอยู่ที่เขตสามเสน จังหวัดกรุงเทพมหานคร โดยมีชาวญวนอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ร่วมกับชาวโปรตุเกสและชาวเขมร มีการสร้าง \"วัดแซงต์ฟรังซัวซาเวียร์\" หรือ \"วัดนักบุญฟรังซิสเซเวียร์\" ขึ้น เนื่องจากผู้คนส่วนมากนับถือศาสนาคริสต์ ชาวญวนในชุมชนมีการสร้างวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองขึ้น ไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรมอาหารหรือวิถีชีวิต ในปัจจุบัน ชาวญวนดั้งเดิมมีจำนวนลดลง แต่ชุมชนบ้านญวนยังคงมีผู้สัญจรไปมาเป็นประจำ","open_date":"","latitude":"13.7783","longitude":"100.505","address":"-","tambon":"วชิรพยาบาล","ampher":"ดุสิต","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10300","tel":"02-243-0060","email":"","website":"https:\/\/francisxaviersamsenpage1.wordpress.com\/","bg_path":"baanyuan","bg_lang":"th","pic":"2020-11-24_23-40-45_S__4505794.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/baanyuan\/pic\/profile_upload\/2020-11-24_23-40-45_S__4505794.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2020-10-05 15:26:03"},{"museum_code":"67","museum_name":"Rung Arun Museum","description":"พิพิธภัณฑ์ของเล่นพื้นบ้านรุ่งอรุณ เป็นแหล่งเก็บรวบรวมของเล่นพื้นบ้านนานาชนิดไว้ด้วยกัน พิพิธภัณฑ์นี้เกิดขึ้นจากความผูกพันและความมุ่งมั่นตั้งใจของคุณทวีทรัพย์ นามขจรโรจน์ ที่มีต่อของเล่นพื้นบ้าน นอกจากของเล่นพื้นบ้านจะสามารถทำให้เกิดความสนุกสนานแล้ว ยังช่วยส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านคือ ร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ไปจนถึงช่วยส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ด้วย จึงเกิดเป็นพิพิธภัณฑ์ที่ให้ได้ทั้งความรู้และความสนุกสนานผ่านการละเล่นของเล่นพื้นบ้านชนิดต่างๆภายในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้","open_date":"กรุณาติดต่อล่วงหน้าทุกครั้งก่อนเข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์","latitude":"13.7973","longitude":"100.374","address":"18\/533 หมู่บ้านพระปิ่น2 ซอยศาลาธรรมสพน์17","tambon":"แขวงศาลาธรรมสพน์","ampher":"เขตทวีวัฒนา","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10170","tel":"0816535267","email":"rungaroon.toys@gmail.com","website":"","bg_path":"rungarunmuseum","bg_lang":"th","pic":"2020-11-23_19-04-07_IMG_0185.JPG","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/rungarunmuseum\/pic\/profile_upload\/2020-11-23_19-04-07_IMG_0185.JPG","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2020-10-05 16:06:23"},{"museum_code":"68","museum_name":"ขลุ่ยบ้านลาว","description":"ขลุ่ยบ้านลาวถูกผลิตขึ้นภายในชุมชนบางไส้ไก่หรืออีกชื่อหนึ่งที่รู้จักกันดีว่าหมู่บ้านลาว โดยตั้งอยู่ในเขตธนบุรี ซึ่งเป็นชุมชนประเภทแออัด ประกาศเป็นชุมชนที่จัดตั้งตามระเบียบกรุงเทพมหานคร เมื่อปี 2535 ชุมชนตั้งอยู่ที่ ซอยหลังมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ถนนอิสรภาพ 15 แขวงหิรัญรูจี ธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600 มีอาณาเขตทิศเหนือติดกับ วัดบางไส้ไก่ ส่วนทิศใต้ติดกับชุมชนมัสยิดบ้านสมเด็จ ทิศตะวันออกติดกับ มหาวิทยาลัยบ้านสมเด็จเจ้าพระยา และทิศตะวันตกติดกับชุมชนสามัคคีศรีสุพรรณ มีประชาชนอาศัยอยู่ราวๆ 171 ครัวเรือน รวมจำนวนประชากรโดยประมาณทั้งหมด 1,000 คน","open_date":"","latitude":"13.7316","longitude":"100.49","address":"ซอยหลังมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา","tambon":"แขวงหิรัญรูจี","ampher":"ธนบุรี","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10600","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"khluibanlao","bg_lang":"th","pic":"2020-11-02_19-03-37_ลงชุมชนครั้งที่1 _ชุมชน_201102.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/khluibanlao\/pic\/profile_upload\/2020-11-02_19-03-37_ลงชุมชนครั้งที่1 _ชุมชน_201102.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"ลงชุมชนครั้งที่1 _ชุมชน_201102.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2020-10-06 08:09:43"},{"museum_code":"69","museum_name":"ดอกไม้เพลิง","description":" การเล่นดอกไม้เพลิงที่เป็นรูปแบบดังในปัจจุบันนี้ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าเริ่มมีตั้งแต่เมื่อใด แต่การเล่นเกี่ยวกับประกายไฟมีหลักฐานตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สำหรับในไทยมีการเล่นไฟในพิธีกรรมต่าง ๆ ปรากฏหลักฐานตั้งแต่สมัยสุโขทัย ในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ความว่า \r\n \t“ เมืองสุโขทัยนี้มีสีปากประตูหลวง เที่ยวย่อมคนเสียดกันเข้ามาดูท่านเผาเทียนท่านเล่นไฟ เมืองสุโขทัยนี้มีดั่งจักแตก \" \r\nต่อมาในสมัยอยุธยา การจุดดอกไม้ไฟได้เข้ามามีบทบาทในฐานะเครื่องสักการะบูชาทางศาสนาในพระราชพิธีหลวงทั้งที่เป็นงานสมโภชในโอกาสอันเป็นมงคลและในงานพระเมรุมาศ ซึ่งปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับต่าง ๆ อาทิงานพระเมรุมาศพระบรมศพสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พ.ศ.๒๒๒๕ ที่ปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงสยาม ต้นฉบับของบริติชมิวเซียมกรุงลอนดอน ความว่า \r\n“…จึงเชิญพระบรมโกศเข้าประดิษฐานในพระเมรุทอง ทรงพระกรุณาให้มีการมหรสพสมโภช และดอกไม้เพลิงต่างๆ และทรงสดัปกรณ์ พระสงฆ์ ๑๐๐๐๐ รูป คำรบ ๗ วันแล้วถวายพระเพลิง” \r\nดอกไม้เพลิงในสมัยนั้นน่าจะมีหลายประเภท แต่ที่นิยมคือ ระทา จุดมุ่งหมายของการเล่นเพื่อถวายเป็นพุทธบูชาเพราะถือกันว่าการจุดดอกไม้เพลิงนั้นเป็นการบูชาที่มีองค์ประกอบครบสมบูรณ์คือ มีแสงเป็นพุ่มดอกไม้แทนดอกไม้ มีควันแทนธูป และมีแสงแทนเทียน สิ่งที่จะได้นอกเหนือจากนี้ก็คือความเพลิดเพลินของคนดู และความยิ่งใหญ่ของงาน เพราะการจะตั้งระทาดอกไม้เพลิง แต่ละครั้งนั้นจะต้องใช้ทุน งานที่มีการจุดดอกไม้เพลิงจึงมักจะมีเฉพาะงานใหญ่ของผู้มีอำนาจวาสนา \r\nในสมัยกรุงธนบุรี มีการจุดดอกไม้เพลิงในลักษณะเดียวกับช่วงกรุงศรีอยุธยา แต่มีการจุดดอกไม้เพลิงลดน้อยลงมาก เนื่องจากบ้านเมืองอยู่ในภาวะสงครามและภาวะเศรษฐกิจ จึงไม่เหมาะสมนักสำหรับการเล่นมหรสพและการจัดงานพระเมรุมาศตามแบบประเพณีในสมัยกรุงศรีอยุธยา \r\nสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น การทำดอกไม้เพลิงและการเล่นดอกไม้เพลิงเพลิงในพระราชพิธีต่างได้รับการรักษาไว้ รัชกาลที่ ๑ ทรงโปรดเกล้าฯ กำหนดให้ชาวบ้านที่มีอาชีพทำดอกไม้ไฟออกมาตั้งหลักแหล่งบ้านเรือนรวมกันออกนอกเขตพระนครบริเวณริมคลองโอ่งอ่างด้านหลังวัดสระเกศ จัดตั้งเป็นบ้านดอกไม้ เพื่อสืบทอดการทำดอกไม้เพลิงและป้องกันการเกิดอัคคีภัยไปในขณะเดียวกัน \r\nหลักฐานสำคัญที่แสดงให้เห็นภาพของการเล่นดอกไม้ไฟในสมัยรัชกาลที่ 1 ปรากฏขึ้นในรูปจิตรกรรมฝาผนังรอบระเบียงพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เป็นภาพจิตรกรรมเรื่องรามเกียรติ์ ตอนเผาศพอินทรชิต และตอนเผาศพทศกัณฑ์ แสดงให้เห็นลักษณะของต้นพเยียมาศและต้นองค์ไฟระทา ซึ่งได้มีการบูรณะต่อมาในภายหลัง หลักฐานที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือตำราแบบธรรมเนียมในราชสำนักที่ทรงให้ผู้รู้บันทึกแบบธรรมเนียมต่าง ๆ ในราชสำนักอยุธยาไว้เป็นแบบอย่างในการปฏิบัติในส่วนที่บันทึกถึงกระบวนเสด็จพระพุทธบาทนั้นในตอนท้ายมีเรื่องเกี่ยวกับการจุดดอกไม้ไฟความว่า \r\n“อนึ่ง ดอกไม้เพลิง เครื่องเล่นทั้งปวง สำหรับสมโภชพระพุทธบาท (นั้น) เป็นพนักงานพันจันท์ได้กะเกณฑ์ตราว่ากล่าว” และตอนที่กล่าวถึงพระราชพิธีสิบสองเดือน ในเดือน ๑๑ และ ๑๒ มีพระราชพิธีลอยพระประทีปเดือน ๑๑ หรือลอยพระประทีบออกพรรษา และพระราชพิธีลอยพระประทีปเดือน ๑๒ ความว่า “ดอกไม้เพลิงระทาและพลุจีนนั้น เป็นพนักงานขุนแก้ว ขุนทอง (เป็นเจ้ากรมช่างดอกไม้ซ้ายขวา) ขึ้นแก่พันจันท์มหาดไทย” จะเห็นได้ว่าการเล่นดอกไม้เพลิงเป็นส่วนสำคัญในพระราชพิธีต่าง ๆ มีพนักงานเจ้าหน้าที่ควบคุมโดยเฉพาะ ได้แก่ตำแหน่งพันจันท์ ขุนแก้ว และขุนทอง สังกัดมหาดไทย ครั้นถึงรัชกาลที่ ๒ การจุดดอกไม้ไฟดูจะเป็นของที่จำเป็นและขาดไม่ได้ในงานพิธีต่าง ๆ ดังจะเห็นได้จากบันทึกเกี่ยวกับการจุดดอกไม้เพลิงทั้งหลักฐานจากพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ ๒ และในช่วงรัชสมัยรัชกาลต่อ ๆ มาก็มีการเล่นดอกไม้เพลิงกันในพิธีต่าง ๆ เรื่อยมา \r\nหลังจากสมัยรัชกาลที่ ๕ การจุดดอกไม้ไฟในพระราชพิธีต่าง ๆ ก็สิ้นสุดลงเนื่องจากความจำเป็นของบ้านเมืองที่เจริญขึ้นพื้นที่ต่าง ๆ คับแคบลงไม่มีที่โล่งพอที่จะทำการจุดดอกไม้เพลิงได้อย่างปลอดภัย รัชกาลที่ ๖ จึงมีพระราชดำริที่จะงดการเล่นดอกไม้ไฟในพระราชพิธีดังปรากฏในระเบียบวาระเรื่องการทำพระเมรุถวายพระเพลิงพระบรมศพ ให้เลิกการฉลองต่าง ๆ คือ ดอกไม้เพลิงและการมหรสพต่าง ๆ และไม่ต้องมีการตั้งโรงครัวเลี้ยง บทบาทของการเล่นตอกไม้ไฟในพระราชพิธีก็เป็นอันสิ้นสุดลง\r\nดอกไม้เพลิงย่านบ้านดอกไม้หลังวัดสระเกศ ในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ครั้งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดให้สถาปนากรุงเทพมหานครขึ้นเป็นราชธานี ณ ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาแล้ว ทรงพยายามที่จะสร้างบ้านเมืองให้สมบูรณ์เหมือนกับเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยามากที่สุด เพื่อฟื้นฟูขวัญกำลังใจของประชาชน จึงทรงพระราชดำริสร้างพระบรมมหาราชวังและพระราชวังบวรสถานมงคลในฝั่งเดียวกับพระราชวังกรุงเก่าที่พระนครศรีอยุธยาสร้างวัดพระศรีรัตนศาสดารามไว้ในพระบรมมหาราชวังทำนองเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์และสร้างวัดสุทัศน์เทพวรารามให้เหมือนพระวิหารวัดพนัญเชิง เป็นต้น \r\n \t นอกจากนี้ในส่วนที่ตั้งบ้านเรือนของประชาชน ทรงพยายามอย่างยิ่งที่จะสร้างบ้านเมือง ย่านชุมชนต่าง ๆ ให้เหมือนกับบ้านเมืองเก่า ผู้คนที่เคยประกอบอาชีพในย่านพระนครศรีอยุธยา เมื่อมาอยู่ในกรุงเทพมหานครแล้วให้รวมกันเข้าเป็นกลุ่มจัดสร้างหมู่บ้านของตนขึ้น ณ ภูมิประเทศที่พิจารณาแล้วว่าคล้ายคลึงกับภูมิประเทศในหมู่บ้านเดิมของตน และพยายามที่จะสร้างสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นวัดวาอารามหรือตลาดตลอดจนตั้งชื่อหมู่บ้านสถานที่เหล่านั้นให้ตรงกับชื่อเดิมในกรุงศรีอยุธยา ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนเกิดความรู้สึกคุ้นเคยและอุ่นใจว่าบ้านเมืองได้กลับสู่ความสงบสุขอีกครั้ง จึงปรากฏชื่อหมู่บ้านต่าง ๆ มากมาย เช่นบ้านบุ บ้านช่างหล่อ บ้านขมิ้น บ้านบาตร บ้านหม้อ บ้านช่างทอง บ้านพานถม ในช่วงนี้บ้านดอกไม้ก็ได้ถือกำเนิดขึ้นสำหรับผู้ที่มีอาชีพทำดอกไม้เพลิงได้อยู่อาศัยซึ่งอยู่ตรงข้ามกับบ้านบาตรข้างวัดสระเกศ ติดกับคลองโอ่งอ่าง ซึ่งเป็นคลองรอบกรุงสายหนึ่งอยู่ภายนอกกำแพงพระนครเพื่อป้องกันการเกิดอัคคีภัย \r\n \t บ้านดอกไม้สมัยก่อนมีบ้านเรือนรวมกันอยู่ประมาณ ๒๐-๓๐ บ้านแล้วจึงค่อย ๆ ลดน้อยลงเรื่อย ๆ เมื่อการเล่นดอกไม้เพลิงเริ่มไม่เป็นที่นิยมตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเป็นต้นมา เนื่องจากเหตุผลทางด้านความปลอดภัยเพราะเขตของเมืองเริ่มขยายออกมาเรื่อย ๆ จึงไม่เป็นการปลอดภัยทั้งการตั้งร้านผลิตดอกไม้ไเพลิงถึงการเล่นดอกไม้เพลิงในเมืองที่มีบ้านเรือนหนาแน่นทำให้หลายครอบครัวเริ่มย้ายออกไปเรื่อย ๆ จนในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ เกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ขึ้นที่บ้านดอกไม้ ทำให้ประชากรบ้านดอกไม้ที่มีอาชีพทำตอกไม้เพลิงและชายจริง ๆ เหลืออยู่เพียง ๖-๑๐ บ้าน และมีร้านดั้งเดิมเหลืออยู่เพียง ๒ ร้านคือ ร้านนายต่วนและร้านจ.ปานจินดา (ปัจจุบันดูแลกิจการโดยคุณบรรยง) และเปลี่ยนบทบาทเป็นผู้ขายเพียงอย่างเดียว ดอกไม้เพลิงที่ขายส่วนมากก็เป็นดอกไม้เพลิงวิทยาศาสตร์ที่ผลิตจากประเทศจีน ขายควบคู่ไปกับการขายไม้กลึง เพราะการยึดอาชีพขายดอกไม้เพลิงเพียงอย่างเดียวไม่สามารถเลี้ยงชีพได้ เนื่องจากใน ๑ ปี จะมีการจุดดอกไม้เพลิงเพียง ๒ ครั้งเท่านั้น คือเทศกาลลอยกระทง กับเทศกาลปีใหม่ แต่ลูกหลานบ้านดอกไม้เหล่านี้ก็ยังคงยึดมั่นตามรอยวิชาชีพของบรรพบุรุษบ้านดอกไม้ โดยการหาดอกไม้เพลิงของไทยมาขาย ซึ่งต้องออกไปซื้อตามต่างจังหวัด เช่นสมุทรปราการ สระบุรี อยุธยา ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐมฉะเชิงเทรา และชลบุรี เป็นต้น \r\n โดยในปัจจุบันชุมชนบ้านดอกไม้ไม่มีการสานต่ออาชีพและองค์ความรู้ในการทำดอกไม้เพลิงหรือพลุไทยโบราณอยู่ เนื่องจากคนส่วนมากที่เคยทำอาชีพเดียวกันได้ย้ายถิ่นฐานออกไปและประกอบอาชีพอื่นๆ ทำให้องค์ความรู้นี่เริ่มหายไป แต่ในชุมชนก็ยังคงมีผู้ที่เคยประกอบอาชีพการทำดอกไม้ไฟอยู่ และเป็นผู้ให้ข้อมูลในการจัดการองค์ความรู้เกี่ยวกับดอกไม้เพลิงที่สำคัญนั่นเอง หากวันหนึ่งเมื่อไม่มีผู้จัดการองค์ความรู้เหล่านี้ ดอกไม้เพลิงในบ้านดอกไม้ คงเหลือแต่เพียงชื่อเหมือนย่านอื่น ๆ ในพระนคร องค์ความรู้ของดอกไม้เพลิงในทุกวันนี้ จึงรอคอยความหวังจากผู้ที่เห็นคุณค่า เพื่อช่วยกันสืบสานองค์ความรู้นี้ ซึ่งแสดงถึงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษในอดีตให้คงอยู่สืบไป","open_date":"","latitude":"13.7518","longitude":"100.505","address":"ชุมชนบ้านดอกไม้","tambon":"แขวงบ้านบาตร","ampher":"เขตป้อมปรบศัตรูพ่าย","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10100","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"siamfirework","bg_lang":"th","pic":"2020-11-03_17-18-03_S__5668867.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/siamfirework\/pic\/profile_upload\/2020-11-03_17-18-03_S__5668867.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"c44ad59bf65b59d4570f4011efed39b2d_4620693218564053962_201120.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2020-10-06 09:00:35"},{"museum_code":"70","museum_name":"Kai Chae Alley","description":"- รู้จักชุมชน - \r\n\"ในสมัยก่อนบริเวณปากตรอกแห่งนี้เคยเป็นที่ตั้งของบ้าน พระนิติธานภิเษก ผู้พิพากษาศาลฎีกาในสมัยรัชกาลที่ 6 ลักษณะบ้านเป็นบ้านสามชั้น สิ่งสะดุดตาของผู้คนที่เดินผ่านไปมาคือเสาโลหะ บอกทิศทางลมรูปไก่ บนหลังคา ตามอย่างลักษณะบ้านเรือนของชาวตะวันตก จึงทำให้ผู้คนในย่านนี้เรียกติดปากกันว่า “บ้านไก่แจ้” และกลายมาเป็นชื่อตรอกจนถึงปัจจุบัน ส่วนชื่อตรอกเขียนนิวาสน์นั้น มีที่มาจากเมื่อสมัยก่อนเคยเป็นที่ตั้งของโรงเรียนเขียนนิวาสน์ เป็นหนึ่งโรงเรียนราฎร์ ซึ่งเคยเปิดการเรียนการสอนในย่านบางลำพู ม.ล.เติม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา คือเจ้าของและผู้ก่อตั้งโรงเรียน และเมื่อครูเติมเสียชีวิต โรงเรียนแห่งนี้จึงยุบลง ปัจจุบันบริเวณพื้นที่ของโรงเรียนเปลี่ยนแปลงเป็นหมู่บ้านจัดสรร ซึ่งอยู่ในความดูแลของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ปัจจุบันชุมชนเขียนนิวาสน์ - ตรอกไก่แจ้เป็นชุมชนที่มีคนอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น\"\r\n","open_date":"รู้จักองค์ความรู้การปักชุดโขน-ละคร ของบ้านปักชุดโขนแห่งตรอกเขียนนิวาสน์-ชุมชนไก่แจ้ โดยนางสมคิด หลาวทอง ครูศิลป์แห่งแผ่นดิน","latitude":"13.7624","longitude":"100.494","address":"","tambon":"แขวงชนะสงคราม","ampher":"พระนคร","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10200","tel":"02 281 9828","email":"sanaebanglumphu@gmail.com","website":"https:\/\/banglamphumuseum.treasury.go.th\/","bg_path":"kaichaealley","bg_lang":"th","pic":"2020-11-25_19-24-26_งานวันที่ 1 141120_๒๐๑๑๒๕.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/kaichaealley\/pic\/profile_upload\/2020-11-25_19-24-26_งานวันที่ 1 141120_๒๐๑๑๒๕.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"36216.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2020-10-06 09:41:43"},{"museum_code":"71","museum_name":"ชุมชนมอญบางกระดี่ (Bangkradi)","description":"ชุมชนบางกระดี่ เป็นชุมชนมอญขนาดใหญ่แห่งหนึ่งของ กทม. อาศัยอยู่ยาวนานมากว่า 150 ปี และยังคงรักษาวัฒนธรรมประเพณีดั้งเดิมไว้ได้อย่างดี ชุมชนมอญส่วนใหญ่จะตั้งบ้านเรือนอยู่สองฟากคลองสนามไชย หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า คลองบางกระดี่ จัดแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็นหมูที่ 2 หมู่ที่ 8 และหมู่ที่ 9 แขวงแสมดำ เขตบางขุนเทียน ปัจจุบันมีถนนซอยแยกจากถนนพระราม 2 หรือถนนธนบุรีปากท่อ กิโลเมตรที่ 10 ระยะทาง 3 กิโลเมตร เข้าถึงหมู่บ้าน นับว่าสะดวกสบายกว่าสมัยก่อนที่ใช้การสัญจรทางน้ำเป็นหลัก","open_date":"กรุณาติดต่อสอบถามล่วงหน้า\r\n","latitude":"13.6002","longitude":"100.404","address":"41 หมู่ 8 ถนน บางกระดี่ ","tambon":"แขวงแสมดำ","ampher":"เขตบางขุนเทียน","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10150","tel":"09 0914 9558, 08 7884 9088, 08 6603 3038","email":"miyamookkrn@hmail.com","website":"http:\/\/dmiceplanner.businesseventsthailand.com\/dmice\/venue-detail.php?m=1516498","bg_path":"bangkradi","bg_lang":"th","pic":"2020-11-12_12-14-59_แส้.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/bangkradi\/pic\/profile_upload\/2020-11-12_12-14-59_แส้.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2020-10-06 10:37:29"},{"museum_code":"72","museum_name":"Roang Kram ","description":" ชุมชนโรงครามตั้งอยู่ในเขตธนบุรี ประกาศเป็นชุมชนที่จัดตั้งตามระเบียบกรุงเทพมหานครเมื่อปี 2535 ชุมชนตั้งอยู่ที่ถนน เทศบาลสาย 2 แขวง วัดกัลยาณ์ ซึ่งเป็นกลุ่มเขต 5 กลุ่มกรุงธนเหนือ ชุมชนโรงครามอยู่ในย่านกุฎีจีน หรือกะดีจีน เป็นย่านประวัติศาสตร์ที่มีความเก่าแก่แห่งหนึ่ของกรุงเทพมหานคร ในบริเวณริมแม่น้ำเจ้าพระยา ประกอบด้วยชุมชนเล็ก ๆ 6 ชุมชน คือ ชุมชนโรงคราม ชุมชนวัดกัลยาณ์ ชุมชนกุฎีจีน ชุมชนวัดประยูรวงศ์ ชุมชนบุปผาราม และชุมชนกฎีขาว พื้นที่ดังกล่าวมีความหลากหลายทางมรดกวัฒนธรรมของ 3 ศาสนา 4 ความเชื่อ อันประกอบด้วย พุทธเถรวาท พุทธมหายาน คริสต์ และมุสลิม\r\n ชุมชนโรงครามมีจำนวนครัวเรือนที่อาศัยอยู่ในปัจจุบันมากถึง 106 ครัวเรือน 111 ครอบครัวและผู้อาศัยมากถึง 360 คน ชุดข้อมูลผู้อยู่อาศัยได้จากการสอบถามประธานชุมชน (นางสโรช โลหะญาณจารี) \r\n การทำผ้ามัดย้อม เป็นภูมิปัญญของชุมชนโรงครามในอดีต มีการทำผ้าย้อมที่ชุมชนโรงครามเป็นที่แรกและยังเป็นจุดเริ่มต้นในการทำผ้ามัดย้อมที่แรก ๆ ในประเทศ ซึ่งการทำผ้ามัดย้อมที่ชุมชนโรงครามมีมาตั้งแต่ก่อนจะตั้งชุมชนในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อก่อนจะเป็นตึกสำหรับทำโรงย้อมแต่ที่ยังเป็นของตระกูลบุนนาค ปัจจุบันโรงย้อมได้ถูกเปลี่ยนเป็นที่อยู่อาศัยของคนในชุมเหลือเพียงแค่สถานที่เล็ก ๆ เป็นแหล่งทำกิจกรรมของคนในชุมชนและสถานที่เรียนรู้ให้ประชาชนได้มาทำผ้ามัดย้อม ลักษณะการย้อมคือใช้สีจากครามผสมน้ำ ปราศจากสารเคมี วิธีการทำในสมัยก่อนจะใช้ไฟและหม้อต้ม แต่ปัจจุบันได้ดัดแปลงให้ง่ายขึ้นไม่ต้องต้ม ใช้การย้อมเย็น โดยมัดผ้าแล้วแช่ในกะละมังที่มีสีครามอยู่ ซึ่งลายที่ได้จะเป็นเอกลักษณ์เพราะมีลายเดียวอันเดียวแตกต่างไปตามการมัด\r\n ในอดีตชุมชนโรงครามเป็นชุมชนที่โด่งดังในเรื่องการย้อมผ้าจากคราม มีการผลิตและจำหน่ายอย่างคึกคัก เช่น เสื้อ กางเกง กระโปรง หมวก ผ้าพันคอ และกระเป๋า เป็นต้น แต่ทั้งนี้ในปัจจุบันไม่ได้มีการผลิตผ้าย้อมครามเป็นอาชีพหลัก มีเพียงการทำผ้าย้อมครามตามโอกาสและเทศกาลเท่านั้น และคนที่สานต่อภูมิปัญญาบ้างก็ย้ายไปจากชุมชน ปัจจุบันเหลือผู้สืบทอดองค์ความรู้แค่ 2 คน นับว่าเป็นภูมิปัญญาที่นับวันจะเลือนหายไปจากชุมชนโรงคราม","open_date":"การเข้ามาที่ชุมชนโรงคราม จำเป็นต้องนัดหมายล่วงหน้า โดยเบอร์ติดต่อ คุณสโรช 086-891-5587 (ประธานชุมชน)","latitude":"13.7363","longitude":"100.488","address":"","tambon":"แขวงวัดกัลยาณ์","ampher":"","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10600","tel":"0868915587","email":"","website":"-","bg_path":"rohngkraam","bg_lang":"th","pic":"2020-11-16_14-14-13_1547CEC5-8B50-4E9A-B84F-704C49464B7E.jpeg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/rohngkraam\/pic\/profile_upload\/2020-11-16_14-14-13_1547CEC5-8B50-4E9A-B84F-704C49464B7E.jpeg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"2DBFDF7F-35BA-4C12-875D-AB8B9B3D06CB.png","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2020-10-06 11:28:33"},{"museum_code":"73","museum_name":"ชุมชนวัดโพธิ์เรียง ","description":"ชุมชนวัดโพธิ์เรียง\r\nตั้งอยู่ที่ซอยจรัญสนิทวงศ์ 18 แขวงบ้านช่างหล่อ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร\r\n\r\nอัตลักษณ์ ชุมชนพื้นที่สวนเดิม อยู่อาศัยแบบเครือญาติ มีภูมิปัญญาจากวัสดุธรรมชาติ และรักษาสิ่งแวดล้อม\r\n\r\nจุดเด่น ชุมชนสร้างการมีส่วนร่วม ทั้งเยาวชน และคนในชุมชน มีการส่งเสริมภูมิปัญญาเรือกระทงกาบมะพร้าวออกมาสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ \r\n\r\n โดยสมัยก่อนพื้นที่ของชุมชนส่วนใหญ่เป็นสวนผลไม้หลากหลายชนิด เช่น ส้มโอ มะพร้าว กล้วย และมีการปลูกดอกเยอบีร่าส่งขายตามตลาดต่าง ๆ อาชีพส่วนใหญ่จึงเป็นการทำสวน พื้นที่ชุมชนเคยใช้การสัญจรทางเรือผ่านคลองเทวดาเป็นหลัก และมีวัดโพธิ์เรียงอยู่คู่กับชุมชน รวมถึงภูมิปัญญาเรือกระทงกาบมะพร้าว สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่นเป็นระยะเวลายาวนานกว่า 100 ปี ที่อยู่คู่กับชุมชนมาอย่างยาวนาน","open_date":"หากต้องการเข้ามาเยี่ยมชมหรือ workshop ทำเรือกระทงกาบมะพร้าว\r\nสามารถติดต่อ ทีมผู้นำชุมชน (พี่แวน) 092-489-1768 ","latitude":"13.7489","longitude":"100.473","address":"ถนนจรัญสนิทวงศ์ 18","tambon":"แขวงบ้านช่างหล่อ","ampher":"เขตบางกอกน้อย","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10700","tel":"092-489-1768 ","email":"","website":"","bg_path":"phoreang","bg_lang":"th","pic":"2020-11-11_10-42-06_259D2F0B-F746-422E-BB08-58C35B1DBE9D.jpeg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/phoreang\/pic\/profile_upload\/2020-11-11_10-42-06_259D2F0B-F746-422E-BB08-58C35B1DBE9D.jpeg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2020-10-06 14:31:18"},{"museum_code":"74","museum_name":"บ้านขนมไทย (BAAN KHANHOM THAI)","description":"บ้านขนมไทย ก่อตั้งโดยคุณนันทา หะสิตะเวชและสามี ปี พ.ศ.2540 แรกเริ่มนั้น เกิดจากร้านขนมไทยแม่ทองเติม ที่ขายอยู่ ณ เกาะเกร็ดโดยคุณแม่จะแบ่งสูตรขนมไทยให้ลูก ๆ ได้ทำกัน แต่ในส่วนของบ้านขนมไทยนั้น คุณแม่ได้มอบหมายการทำขนมประเภทขนมมงคลให้ ซึ่งจะได้แก่ ขนมจ่ามงกุฎ ขนมทองเอก ขนมเสน่ห์จันทร์ ผกากรอง กระเช้าสีดา\r\nขนมมงคลนั้นถือว่าเป็นจุดเด่นของทางบ้านขนมไทย แต่จะมีขนมชนิดใหม่อย่างขนมผกากรอง ที่จะได้รับความสนใจเป็นพิเศษ เพราะทางบ้านขนมไทยนั้นได้มีการคิดค้นไส้ของขนมผกากรองขึ้นมา ซึ่งเป็นสูตรของทางบ้านขนมไทยนั่นเอง คือการใช้เมล็ดแตงโมที่แตกหักและไม่สวย นำมาประยุกต์ทำไส้ผกากรองโดยการนำเม็ดแตงโม แป้ง ไข่ น้ำตาลและกะทิ มากวนผสมกันแล้วนำไปอบและปั้นให้เป็นก้อนเพื่อยัดไส้ในขนมผกากรอง สิ่งเหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นภูมิปัญญาตกทอดที่มีมาแต่ช้านาน ของบ้านขนมไทยทั้งสิ้น","open_date":"","latitude":"13.7459","longitude":"100.415","address":"4 ซ.บางแวก 116","tambon":"แขวง คลองขวาง","ampher":"เขตภาษีเจริญ","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10160","tel":"085-100-0790 (คุณน้านันทา)","email":"","website":"","bg_path":"baankhanhomthai","bg_lang":"th","pic":"2020-11-08_00-57-24_อุปกรณ์,รูปขนม_๒๐๑๑๐๘.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/baankhanhomthai\/pic\/profile_upload\/2020-11-08_00-57-24_อุปกรณ์,รูปขนม_๒๐๑๑๐๘.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"ภาพรวม.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2020-10-06 15:11:41"},{"museum_code":"75","museum_name":"หุ่นละครเล็ก คณะศิปปะธรรม","description":"การแสดงหุ่นละครเล็กที่เป็นศิลปะแขนงหนึ่งที่มีมายาวนานกว่า 100 ปี หุ่นละครเล็กนี้ถูกสร้างขึ้น โดยพ่อครูแกร ศัพทวานิช และได้รับการสืบทอด โดยครูโจหลุยส์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดงหุ่นละครเล็ก ต่อมาคณะโจหลุยส์ได้ปิดโรงละครอย่างถาวร จึงได้มีการรวมกลุ่มศิลปินนักแสดงที่มีความสามารถและประสบการณ์ในการเชิดหุ่นละครเล็ก ด้วยมุ่งหวังที่จะร่วมเผยแพร่และอนุรักษ์ศิลปะการแสดงหุ่นละครเล็กสืบต่อไป","open_date":"เปิดทำการแสดง ณ ตลาดน้ำวัดสะพาน ถนนราชพฤกษ์ ทุกวัน เสาร์-อาทิตย์ เริ่มเวลา 11.30 ","latitude":"13.7472","longitude":"100.439","address":" 38 ถนน ปากน้ำกระโจมทอง","tambon":"บางพรม","ampher":"เขตตลิ่งชัน","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10170","tel":"086 398 9243","email":"sippathampuppet@gmail.com","website":"","bg_path":"sippatham","bg_lang":"th","pic":"2022-11-01_16-40-56_IMG_2332.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/sippatham\/pic\/profile_upload\/2022-11-01_16-40-56_IMG_2332.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"IMG_2333.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2020-10-06 15:54:13"},{"museum_code":"76","museum_name":"Dan Sudsakorn Digital Archive","description":"ฐานข้อมูลที่รวบรวมองค์ความรู้มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเกี่ยวกับการวาดการ์ตูนของ \"แดน สุดสาคร\" นามปากกาของนักวาดการ์ตูนชาวไทยสนิท สุดสาคร เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปในกลุ่มนักอ่านการ์ตูนเล่มละบาทไทยว่า \"เจ้าพ่อแห่งการ์ตูนผีไทย\" โดยเรื่องราวที่คุณแดนนำเสนอมักเกี่ยวข้องกับตำนานพื้นบ้าน ภูติผีปีศาจ และความเชื่อท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับสิ่งเร้นลับ เป็นต้น ทั้งนี้คุณแดนยังมีแนวการวาดภาพ (genres) ที่ถนัดอีกหลากหลาย เช่น แถววิถีชีวิต เทพนิยม จักรวงษ์ เสียดสีและล้อการเมือง เป็นต้น แต่ไม่ได้เป็นที่นิยมเท่ากับการวาดภาพการ์ตูนผี ทั้งนี้การ์ตูนที่วาดมักแฝงข้อคิดและคติสอนใจภายในเรื่องราว ซึ่งมักมีความเกี่ยวข้องกับความเชื่อทางพุทธศาสนาและจริยธรรม ปัจจุบันด้วยความนิยมของการ์ตูนเล่มละบาทที่ลดลง ทำให้คุณแดนได้ขยายขอบเขตของการวาดการ์ตูนเป็นการรับวาดสตอรี่บอร์ดสำหรับการทำภาพยนตร์ ละคร โฆษณา รวมไปถึงการวาดโปสเตอร์ ภาพบนไพ่ทาโร และรวมไปถึงงานออกแบบลวดลายบนผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ\r\n \r\nDan Sudsakorn Digital Archive จัดทำขึ้นโดยกลุ่มนักศึกษาสาขาการจัดการมรดกวัฒนธรรมและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อเก็บรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับการ์ตูนของ \"แดน สุดสาคร\" ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น โดยฐานข้อมูลแบ่งประเภทของการนำเสนอออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ (1) การ์ตูนของ \"แดน สุดสาคร\" นำเสนอข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการ์ตูนไทย ความเป็นมาของการวาดการ์ตูนของคุณแดน สุดสาคร (2) อุปกรณ์ในการวาดการ์ตูน (3) ตัวอย่างผลงานของคุณแดน สุดสาคร","open_date":"สนิท สุดสาครเป็นนักวาดการ์ตูนที่ไม่ได้สังกัดในหน่วยงานหรือองค์กรใด และไม่ได้เปิดเป็นนิทรรศการให้คนทั่วไปให้เยี่ยมชม แต่ผู้ที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความเป็นมาของการ์ตูนไทย สามารถติดต่อเข้าเยี่ยมชมได้","latitude":"13.7564","longitude":"100.464","address":"","tambon":"บางขุนศรี","ampher":"บางกอกน้อย","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10700","tel":"","email":"","website":"https:\/\/www.resource.lib.su.ac.th\/cartoon\/web\/timeline?timeline=2519\/1976&menu=timeline","bg_path":"dansudsakorn","bg_lang":"th","pic":"2020-11-02_14-42-32_IMG_6386.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/dansudsakorn\/pic\/profile_upload\/2020-11-02_14-42-32_IMG_6386.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"dansudsakorn.mp4","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2020-10-06 16:35:40"},{"museum_code":"77","museum_name":"ฐานข้อมูลสงขลาคดีศึกษา สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา","description":"\tโนราเป็นศิลปะการแสดงที่มีชื่อเสียงและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวของท้องถิ่นภาคใต้อย่างหนึ่ง การออกแบบตราสัญลักษณ์ของสำนักศิลปะและวัฒนธรรมได้นำรูปร่างของเครื่องประดับเทริด ซึ่งมีองค์ประกอบศิลป์ลักษณะความสมดุลแบบสมมาตร การกำหนดโครงสร้างรูปตราสัญลักษณ์นี้เพื่อเป็นการสื่อความหมายบ่งบอกความเป็นเอกภาพในการแสดงออกด้านศิลปวัฒนธรรมของสถาบันอุดมศึกษามีส่วนรับผิดชอบร่วมกันในการอนุรักษ์ พัฒนา และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อเป็นสมบัติของชาติสืบไป\r\n\r\n ประวัติความเป็นมาของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา\r\n\r\n \tความสนใจในการศึกษาและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย เริ่มก่อตัวให้เห็นอย่างชัดเจนเมื่อรัฐบาลได้ตราพระราชบัญญัติบำรุงวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ.2483 เป็นครั้งแรก ต่อมาได้สถาปนากระทรวงวัฒนธรรมขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2495 จนกระทั่งได้เปิดใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) ขึ้นเมื่อ พ.ศ.2498 หลักสูตรดังกล่าวประกอบด้วยรายวิชาชุมนุมชนไทยและวัฒนธรรมไทย ซึ่งจากรายวิชานี้เองที่ก่อให้เกิดกระแสความคิดและปฏิบัติการการเรียนการสอนวัฒนธรรมศึกษา โดยเฉพาะวัฒนธรรมท้องถิ่นหรือวัฒนธรรมพื้นบ้านขึ้นตั้งแต่ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลายังเป็นโรงเรียนฝึกหัดครูสงขลาและโรงเรียนสตรีฝึกหัดสงขลาจึงอาจถือได้ว่า พ.ศ.2498 เป็นยุคเริ่มต้นก่อให้เกิดสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาในปัจจุบัน ผู้ที่สมควรได้รับเกียรติ\r\nยกย่องว่าเป็นผู้บุกเบิกงานด้านศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามาตั้งแต่ยุคแรกเริ่ม คือ รศ.ภิญโญ จิตต์ธรรม ดร.วิจิตร จันทรากุลและ ศ.สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ โดยทั้ง 3 ท่าน เป็นผู้ที่มองเห็นความสำคัญของงานวัฒนธรรมโดยเฉพาะงานวัฒนธรรมท้องถิ่น จนกระทั่งได้เกิดเป็นผลงานซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันสำคัญยิ่งในกาลต่อมาอันได้แก่ คณะโนราวิทยาลัยครูสงขลา สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒสงขลา รวมถึงพจนานุกรมภาษาถิ่นใต้และสารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ด้วย ในส่วนของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา การเก็บสะสมข้อมูลทางวิชาการและวัตถุทางวัฒนธรรมได้ดำเนินมาเป็นลำดับ โดยอาศัยหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.ชั้นสูง) และหลักสูตรปริญญาตรีของวิทยาลัยครูสงขลา โดยเฉพาะวิชาเอกภาษาไทยที่มีรายวิชาคติชนวิทยาและภาษาถิ่นประจวบกับ พ.ศ.2519 กองวัฒนธรรม กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายที่จะส่งเสริมงานวัฒนธรรมในทุกภูมิภาคของประเทศจึงเกิดหน่วยงานทางวัฒนธรรมที่เรียกว่า หน่วยประเคราะห์ศูนย์ชุมนุมส่งเสริมวัฒนธรรมไทยขึ้น โดยกระจายสังกัดอยู่กับวิทยาลัยครู จังหวัดใด\r\nที่ไม่มีวิทยาลัยครูก็ให้อยู่กับวิทยาลัยพลศึกษาหรือโรงเรียนประจำจังหวัดนั้นๆ ตั้งแต่ พ.ศ.2519\r\nในลักษณะที่หน่วยงานใดพร้อมก่อนก็ดำเนินการไปก่อน \r\n\tหน่วยประเคราะห์ศูนย์ชุมนุมส่งเสริมวัฒนธรรมไทย วิทยาลัยครูสงขลา เกิดเป็นหน่วยงานขึ้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2520 โดยอาจารย์ภิญโญ จิตต์ธรรม มีตำแหน่งเป็นหัวหน้าหน่วยในขณะนั้น อาจารย์สนิท บุญฤทธิ์ เป็นเลขานุการ โดยสำนักงานตั้งอยู่ที่ห้อง 232 อาคาร 2 วิทยาลัยครูสงขลา และในช่วงก่อนหน้านั้น ดร.วิจิตร จันทรากุล ได้ดำเนินการขอโอนไปรับราชการที่คณะศึกษาศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ไปดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการวิทยาลัยชุมชนภูเก็ต และทาง ด้าน ศ.สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ ขอโอนไปอยู่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒสงขลา และดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมภาษาและวัฒนธรรมภาคใต้ ก่อนที่จะพัฒนาไปเป็นสถาบันทักษิณคดีศึกษาในปัจจุบัน ผลการบุกเบิกงานวัฒนธรรมท้องถิ่นทำให้อาจารย์ภิญโญ จิตต์ธรรม ได้รับการยอมรับจากนักวิชาการด้านคติชนวิทยาประเทศญี่ปุ่นให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ (Professor) ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการจากสภาการฝึกหัดครูเป็นรองศาสตราจารย์ เมื่อ พ.ศ.2521 และอาจารย์สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการจากสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ให้เป็นศาสตราจารย์ ในเวลาต่อมา ในการเริ่มต้นงานของหน่วยประเคราะห์ศูนย์ชุมนุมส่งเสริมวัฒนธรรมไทย วิทยาลัยครูสงขลานั้นนอกจากข้อมูลข่าวสารจำนวนหนึ่งที่ รศ.ภิญโญ จิตต์ธรรม เขียนขึ้นและพิมพ์เผยแพร่ข้อมูลดิบด้านคติชนวิทยา ส่วนหนึ่งที่เก็บรวบรวมไว้จากงานที่นักศึกษาวิชาภาษาไทยรุ่นต่างๆ จัดเก็บรวบรวมส่งกับโต๊ะทำงานพร้อมเก้าอี้ 2 ชุด ที่นำมาจากภาควิชาภาษาไทยแล้วกล่าวได้ว่าไม่มีอะไรเลย ในกระทั่งวิทยาลัยได้ตั้งงบประมาณให้เป็นครั้งแรกในปลายปี พ.ศ.2520 จึงได้มีครุภัณฑ์ 2 ชิ้นแรกตามลำดับ คือ ตู้เหล็กฝาปิด-เปิดสองบานสำหรับเก็บเอกสาร 1 หลัง กับเครื่องพิมพ์ดีดโอลิมเปียแคร่ยาว 1 เครื่อง พ.ศ.2523 กองวัฒนธรรมได้รับการยกฐานะเป็นสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (สวช.) หน่วยประเคราะห์ศูนย์ชุมนุมส่งเสริมวัฒนธรรมไทย วิทยาลัยครูสงขลา จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็นศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาวัฒนธรรม วิทยาลัยครูสงขลา และ พ.ศ.2524 เปลี่ยนอีกครั้งเป็น ศูนย์วัฒนธรรมวิทยาลัยครูสงขลา ก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดสงขลา วิทยาลัยครูสงขลา ในปีเดียวกัน พ.ศ.2528 กรมการฝึกหัดครูใช้พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ.2528 จึงได้เกิดหน่วยงานศูนย์ศิลปวัฒนธรรม วิทยาลัยครูสงขลาขึ้นตามพระราชบัญญัติฉบับนั้น วิทยาลัยครูสงขลาจึงมีหน่วยงานทางด้านวัฒนธรรม 2 หน่วยงานพร้อมกัน คือ ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดสงขลา วิทยาลัยครูสงขลา โดยใช้งบประมาณดำเนินการของสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (สวช.) กับ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม วิทยาลัยครูสงขลา ใช้งบประมาณของกรมการฝึกหัดครูกับเงินบำรุงการศึกษาของวิทยาลัยครูสงขลา ทั้งนี้โดยใช้คณะกรรมการบริหารร่วมกันทั้ง 2 หน่วยงาน ในปี พ.ศ.2535 สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (สวช.) ได้โอนความรับผิดชอบงานด้านวัฒนธรรมไปไว้ที่สำนักงานการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมจังหวัดสงขลา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาจึงเหลือเพียงศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา รับผิดชอบอยู่เพียงหน่วยงานเดียวแต่ยังคงรับผิดชอบโครงการบางโครงการทั้งจากสำนักงานการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมจังหวัดสงขลาและสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (สวช.)\r\n\tพ.ศ.2538 ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏสงขลา เปลี่ยนชื่อเป็น “สำนักศิลปะและวัฒนธรรม” ตามประกาศสำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ เรื่อง หลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการในสถาบันราชภัฏ ลงวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ.2538 พ.ศ.2548 กระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวงให้จัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา กระทรวงศึกษาธิการ ใช้ชื่อ “สำนักศิลปะและวัฒนธรรม” ลงวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2549\r\n\tตั้งแต่เริ่มมีหน่วยประเคราะห์ศูนย์ชุมนุมส่งเสริมวัฒนธรรมไทย จนกระทั่งมาเป็นสำนักศิลปะและวัฒนธรรมในปัจจุบัน มีตำแหน่งผู้บริหารและรายนามผู้บริหารตามลำดับ ดังนี้\r\nพ.ศ.2520\tอ.ภิญโญ จิตต์ธรรม\tหัวหน้าหน่วยประเคราะห์ศูนย์ชุมนุมส่งเสริมวัฒนธรรมไทย\r\nพ.ศ.2525\tอ.สุนันท์ พิพัฒน์เพ็ญ\tหัวหน้าศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดสงขลา วิทยาลัยครูสงขลา\r\nพ.ศ.2526 \tรศ.ภิญโญ จิตต์ธรรม\tหัวหน้าศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดสงขลา วิทยาลัยครูสงขลา\r\nพ.ศ.2528 \tผศ.สาโรช นาคะวิโรจน์\tหัวหน้าศูนย์ศิลปวัฒนธรรม \r\nวิทยาลัยครูสงขลา\r\nพ.ศ.2538 \tผศ.นพศักดิ์ บุญรัศมี\tผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏสงขลา\r\nพ.ศ.2539 \tผศ.สนิท บุญฤทธิ์\tผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม \r\nสถาบันราชภัฏสงขลา\r\nพ.ศ.2544 – 4 เม.ย. 56 \tอ.รจนา ศรีใส\tผู้อำนวยการสำนักศิลปวัฒนธรรม \r\nมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา\r\n4 เม.ย. 56 – 26 พ.ค. 56\tผศ.สุพยอม นาจันทร์\tรักษาราชการแทนผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย\r\nราชภัฏสงขลา\r\n26 พ.ค. 56 – 25 พ.ค.64\tนายโอภาส อิสโม\tผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา\r\n\r\n ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์\r\n\tปรัชญา \t\tสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มุ่งส่งเสริม สืบสานและสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นและของชาติ\r\n\r\n\tปณิธาน \t\tสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มีความมุ่งมั่นในการทำนุบำรุง ส่งเสริม เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นและของชาติสู่สากล เพื่อเสริมสร้างความภาคภูมิใจในความเป็นไทย\r\n\r\n\tวิสัยทัศน์ \tอนุรักษ์ พัฒนา เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นสู่สากล\r\n\r\n\tพันธกิจ \r\n1) ดำเนินกิจกรรมและสร้างเครือข่ายด้านการอนุรักษ์ เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมและบริการทางศิลปวัฒนธรรม\r\n2) ปลูกฝังค่านิยมจิตสำนึกความภาคภูมิใจในศิลปวัฒนธรรมไทยและท้องถิ่นภาคใต้ให้นักศึกษาและชุมชน\r\n3) ส่งเสริม พัฒนา เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในระดับประเทศและนานาชาติ\r\n4) ส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม\r\n5) ดำเนินกิจกรรมและสร้างเครือข่ายโครงการสืบสานวัฒนธรรมทักษิณ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถในการอนุรักษ์โนรา\r\n\r\n\tวัตถุประสงค์\r\n\t\t1) เพื่อสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ สืบสาน สร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมไทย และท้องถิ่น\r\n\t\t2) เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ บริการ เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้\r\n\t\t3) เพื่อส่งเสริมเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยและท้องถิ่นภาคใต้ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ\r\n\t\t4) เพื่อสร้างเครือข่ายในการดำเนินกิจกรรมทางด้านศิลปวัฒนธรรม ทั้งในประเทศและต่างประเทศ\r\n\t\r\nค่านิยมร่วมสำนักศิลปะและวัฒนธรรม : SINCERE : ซื่อสัตย์, จริงใจ\r\n\t\tS \t– \tSkills (ทักษะ)\r\n\t\tI \t– \tInternational Standard (มาตรฐานนานาชาติ)\r\n\t\tN \t– \tNice (ดีงาม)\r\n\t\tC \t– \tCourage (กล้าหาญ)\r\n\t\tE \t– \tElegance (สง่างาม)\r\n\t\tR \t– \tResponsibility (ความรับผิดชอบ)\r\n\t\tE \t– \tEqualily (ความเสมอภาค)\r\n\r\nยุทธศาสตร์และกลยุทธ์สำนักศิลปะและวัฒนธรรม \r\n (ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 – 2564) \r\nประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีคุณภาพและมีธรรมาภิบาล\r\n\tเป้าประสงค์\r\n1)\tมีระบบบริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล\r\n2)\tมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการให้บริการและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม\r\n3)\tเป็นองค์กรที่ตอบสนองต่อพันธกิจและนโยบายของมหาวิทยาลัย\r\nตัวชี้วัด \r\n1)\tร้อยละสมรรถนะด้านธรรมาภิบาลในการบริหาร\r\n2)\tร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ\r\n3)\tจำนวนโครงการ\/ กิจกรรมที่ตอบสนองต่อพันธกิจและนโยบายของมหาวิทยาลัย\r\n4)\tจำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตนเอง\r\nกลยุทธ์ \r\n1)\tจัดตั้งคณะกรรมการด้านการบริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล\r\n2)\tสร้างแนวปฏิบัติที่ดีด้านการบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม\r\n3)\tสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานสู่ความเป็นเลิศ\r\n4)\tได้รับการยอมรับด้านศิลปวัฒนธรรมที่ตอบสนองต่อพันธกิจและนโยบายของมหาวิทยาลัย\r\nประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 เพื่ออนุรักษ์ สืบสาน ฟื้นฟู ปกป้อง พัฒนาและเผยแพร่ด้าน \r\n ศิลปวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมอย่างยั่งยืน\r\n ตามศาสตร์พระราชา\r\n\tเป้าประสงค์ \r\n1)\tอนุรักษ์ สืบสาน ฟื้นฟู ปกป้อง พัฒนาและเผยแพร่ด้านศิลปวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมให้คงอยู่อย่างยั่งยืน\r\n2)\tทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมร่วมกับชุมชนท้องถิ่นและหน่วยงานภายนอกตามศาสตร์พระราชา\r\nตัวชี้วัด \r\n1)\tจำนวนโครงการ\/ กิจกรรมด้านอนุรักษ์ สืบสาน ฟื้นฟู ปกป้อง พัฒนาและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม\r\n2)\tจำนวนเครือข่ายด้านทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม\r\n3)\tจำนวนโครงการ\/ กิจกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์\r\nกลยุทธ์ \r\n1)\tสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม\r\n2)\tส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม\r\n3)\tสร้างชุมชนต้นแบบด้านศิลปวัฒธรรมและสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม\r\n","open_date":"","latitude":"7.1685","longitude":"100.613","address":"160 หมู่ที่ 4 ","tambon":"ตำบลเขารูปช้าง","ampher":"เมือง","province":"สงขลา ","zipcode":"90000","tel":"074-260280 , 074-336946","email":"culture@skru.ac.th","website":"https:\/\/culture.skru.ac.th\/","bg_path":"cultureskru","bg_lang":"th","pic":"2021-03-10_09-16-53_158419859_699147394086460_8759440678074841002_n.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/cultureskru\/pic\/profile_upload\/2021-03-10_09-16-53_158419859_699147394086460_8759440678074841002_n.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"nrstsec.php","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2024-06-22 05:50:59"},{"museum_code":"78","museum_name":"บึงพลาญชัย","description":"บึงพลาญชัย","open_date":"กรุณาติดต่อสอบถามล่วงหน้า","latitude":"14.0778","longitude":"100.601","address":"112","tambon":"คลองหนึ่ง","ampher":"คลองหลวง","province":"ปทุมธานี ","zipcode":"12120","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"buengphalanchai","bg_lang":"th","pic":"2020-11-30_09-41-55_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/buengphalanchai\/pic\/profile_upload\/2020-11-30_09-41-55_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2020-11-30 10:07:06"},{"museum_code":"79","museum_name":"โฮงเจ้าฟองคำ","description":"โฮงเจ้าฟองคำ","open_date":"กรุณาติดต่อสอบถามล่วงหน้า","latitude":"14.0778","longitude":"100.601","address":"112","tambon":"คลองหนึ่ง","ampher":"คลองหลวง","province":"ปทุมธานี ","zipcode":"12120","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"hongchaofongkham","bg_lang":"th","pic":"2020-11-30_10-13-52_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/hongchaofongkham\/pic\/profile_upload\/2020-11-30_10-13-52_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2020-11-30 10:13:19"},{"museum_code":"80","museum_name":"รังษีเกษม","description":"รังษีเกษม","open_date":"กรุณาติดต่อสอบถามล่วงหน้า","latitude":"14.0778","longitude":"100.601","address":"112","tambon":"คลองหนึ่ง","ampher":"คลองหลวง","province":"ปทุมธานี ","zipcode":"12120","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"rangsikasem","bg_lang":"th","pic":"2020-11-30_10-42-30_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/rangsikasem\/pic\/profile_upload\/2020-11-30_10-42-30_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2020-11-30 10:42:04"},{"museum_code":"81","museum_name":"วัดดอนมูล","description":"วัดดอนมูล","open_date":"กรุณาติดต่อสอบถามล่วงหน้า","latitude":"14.0778","longitude":"100.601","address":"112","tambon":"คลองหนึ่ง","ampher":"คลองหลวง","province":"ปทุมธานี ","zipcode":"12120","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"watdonmoon","bg_lang":"th","pic":"2020-11-30_11-11-56_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/watdonmoon\/pic\/profile_upload\/2020-11-30_11-11-56_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2020-11-30 11:12:30"},{"museum_code":"82","museum_name":"watsriboonreung","description":"watsriboonreung","open_date":"กรุณาติดต่อสอบถามล่วงหน้า","latitude":"14.0778","longitude":"100.601","address":"112","tambon":"คลองหนึ่ง","ampher":"คลองหลวง","province":"ปทุมธานี ","zipcode":"12120","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"watsriboonreung","bg_lang":"th","pic":"2020-11-30_11-48-43_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/watsriboonreung\/pic\/profile_upload\/2020-11-30_11-48-43_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-21 03:03:16"},{"museum_code":"83","museum_name":"huanchaoudom","description":"huanchaoudom","open_date":"กรุณาติดต่อสอบถามล่วงหน้า","latitude":"14.0778","longitude":"100.601","address":"112","tambon":"คลองหนึ่ง","ampher":"คลองหลวง","province":"ปทุมธานี ","zipcode":"12120","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"huanchaoudom","bg_lang":"th","pic":"2020-11-30_13-47-49_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/huanchaoudom\/pic\/profile_upload\/2020-11-30_13-47-49_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2020-11-30 01:47:23"},{"museum_code":"84","museum_name":"ชุมชนบ้านพระเกิด","description":"ชุมชนบ้านพระเกิด","open_date":"กรุณาติดต่อสอบถามล่วงหน้า","latitude":"14.0778","longitude":"100.601","address":"112","tambon":"คลองหนึ่ง","ampher":"คลองหลวง","province":"ปทุมธานี ","zipcode":"12120","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"baanphrakerd","bg_lang":"th","pic":"2020-11-30_14-16-35_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/baanphrakerd\/pic\/profile_upload\/2020-11-30_14-16-35_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2020-11-30 02:17:10"},{"museum_code":"85","museum_name":"พิพิธภัณฑ์ปานถนอม","description":"พิพิธภัณฑ์ปานถนอม เป็นพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นนำเสนอนิทรรศการหลากหลายที่สะท้อนวิถีชีวิตของชาวไทยทรงดำ ก่อตั้งโดยครูถนอม คงยิ้มละมัย มีแกนนำเยาวชน \r\n\"น้องแร่ \" เป็นผู้จัดการพิพิธภัณฑ์ พิพิธภัณฑ์ปานถนอมีการปรับปรุงนิทรรศการใหม่ทั้งหมดในปีพ.ศ. 2564 จากการขับเคลื่อนโดยกลุ่มเยาวชนรักษ์หนองปรง และกลุ่มเยาวชนไปกะเลามาเล้ นักเรียนรู้ที่สนใจสามารถเดินทางมาเยี่ยมชมได้ทุกวัน หากสนใจทำกิจกรรมเรียนรู้ DIY ต่างๆ เช่นการทำลูกช่วง การฟ้อนแคน การทำลายหน้าหมอน หรือสนใจลิ้มลองอาหารท้องถิ่น เช่น แจ่วเอือดด้าน หรือน้ำพริกมะแข่น กับหมูทอด หรือแกงหน่อส้ม แกงผำ ผักจุ๊บ อาหารขึ้นชื่อของชาวไทยทรงดำ สามารถติดต่อน้องแร่เพื่อสอบถามข้อมูล และนัดหมายล่วงหน้าได้ที่เบอร์ติดต่อ 093-1978492","open_date":"กรุณาติดต่อสอบถามล่วงหน้า เปิดทุกวัน กรุณานัดวันเวลาเข้าชมล่วงหน้า เพื่อนัดวิทยากรชุมชน workshop: หัตถกรรม งานปัก งานทอ งานปั้น และอาหารท้องถิ่น ***ในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด19 พิพิธภัณฑ์อาจจะปิด กรุณาโทรสอบถามล่วงหน้า","latitude":"13.1764","longitude":"99.8361","address":"8\/1 หมู่ 1","tambon":"หนองปรง","ampher":"เขาย้อย","province":"เพชรบุรี ","zipcode":"76140","tel":"0931978492","email":"netnapha2424@gmail.com","website":"","bg_path":"paikalau","bg_lang":"th","pic":"2021-08-01_00-17-32_รูปพิดพัน5.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/paikalau\/pic\/profile_upload\/2021-08-01_00-17-32_รูปพิดพัน5.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-23 01:55:38"},{"museum_code":"86","museum_name":"ความหลากหลายทางชีวภาพ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดชุมพร","description":"ความหลากหลายทางชีวภาพ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดชุมพร","open_date":"ติดต่อล่วงหน้า เพื่อเยี่ยมชม","latitude":"9.7724","longitude":"99.1403","address":" เลขที่99 ม.5","tambon":"ละแม","ampher":"ละแม","province":"ชุมพร ","zipcode":"86170","tel":"0806029929","email":"carrotmju@gmail.com","website":"","bg_path":"MJChumphon","bg_lang":"th","pic":"2021-09-11_12-08-47_79239256_1212198678975226_6211311502234746880_n.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/MJChumphon\/pic\/profile_upload\/2021-09-11_12-08-47_79239256_1212198678975226_6211311502234746880_n.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-21 04:49:13"},{"museum_code":"87","museum_name":"โครงการการบริหารจัดการระบบสื่อความหมายพรรณไม้เพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนในพื้นที่อุทยานธรณีโลกสตูล","description":"โครงการการบริหารจัดการระบบสื่อความหมายพรรณไม้เพื่อการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนในพื้นที่อุทยานธรณีโลกสตูล มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจทรัพยากรทางพืชพรรณในบริเวณเขตอุทยานธรณีโลกสตูล ในพื้นที่ตัวอย่างจำนวน 3 พื้นที่ คือ บริเวณโรงเรียนบ้านป่าพน น้ำตกธารปลิว และปราสาทหินพันยอด ทางโครงการจัดทำการสำรวจ ถ่ายภาพ จำแนกชนิดพรรณ และนำเข้าข้อมูลเข้าสู่ระบบนวนุรักษ์ ทั้งนี้ทางโครงการได้ดำเนินการออกแบบโปรแกรมสื่อความหมายที่สอดคล้องกับธรรมชาติและความต้องการของชุมชนในแต่ละพื้นที่ อาทิ บริเวณโรงเรียนบ้านป่าพน มีลานหินป่าพน และภูเขาที่มีฟอสซิลอายุนับล้านปีถูกปกคลุมด้วยพืชพื้นถิ่นนานาชนิด โปรแกรมสื่อความหมายจึงถูกออกแบบมาในลักษณะการกระตุ้นการเรียนรู้ของนักเรียนและนักท่องเที่ยวที่มาในพื้นที่ดังกล่าว เช่น แผ่นพับพืชชนิดเด่น ป้ายชื่อต้นไม้ โปสเตอร์ หนังสือคู่มือชนิดพรรณไม้ลานหินป่าพน เป็นต้น ","open_date":"กรุณาติดต่อล่วงหน้า เพื่อเยี่ยมชม ","latitude":"14.8818","longitude":"102.021","address":"111","tambon":"สุรนารี","ampher":"เมืองนครราชสีมา","province":"นครราชสีมา ","zipcode":"30000","tel":"0644479156 ","email":"","website":"","bg_path":"plantsatungp","bg_lang":"th","pic":"2022-07-23_22-47-47_S__15974425.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/plantsatungp\/pic\/profile_upload\/2022-07-23_22-47-47_S__15974425.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2022-07-23 11:24:27"},{"museum_code":"88","museum_name":"จังหวัดจันทบุรี","description":"จังหวัดจันทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทยที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ เป็นเมืองแห่งผลไม้ มีระบบนิเวศที่หลากหลาย ทั้งป่าชายเลน ทะเลและชายฝั่ง รวมถึงภูเขา ซึ่งระบบนิเวศที่หลากหลายนี้ทำให้จังหวัดจันทบุรีมีความเหมาะสมในการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางนิเวศหรือแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์อีกแหล่งหนึ่งของประเทศไทย จังหวัดจันทบุรีมีทรัพยากรท้องถิ่นทั้งพืชและสัตว์ ที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด เช่น ทุเรียน มังคุด กระวาน สละ ลองกองปูดำ ปูแป้น หอยนางรม ปลาดุกทะเล หอยพอก ซึ่งชุมชนในท้องถิ่น ได้ใช้ประโยชน์อย่างหลากหลายได้แก่เป็นแหล่งอาหาร เป็นแหล่งสร้างรายได้ เป็นแหล่งท่องเที่ยว ทำให้ทรัพยากรท้องถิ่นหลายชนิดมีสถานภาพที่น่าเป็นห่วง เช่น จำนวนประชากรมีแนวโน้มลดลง ทรัพยากรหลายชนิดมีการใช้ประโยชน์อย่างต่อเนื่องโดยขาดความรู้ความเข้าใจในการดูรักษาและใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน โครงการวิจัย \"การอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรพื้นถิ่นตามแนวลุ่มแม่น้ำเวฬุจังหวัดจันทบุรีเพื่อส่งเสริมนโยบายของรัฐในการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและการท่องเที่ยว\" จึงได้รวบรวมทรัพยากร สถานที่ วัฒนธรรมที่น่าสนใจของจังหวัดจันทบุรีให้ทุกท่านที่สนใจได้เข้าศึกษาข้อมูลเพื่อให้รู้จักและเป็นแนวทางสำหรับการท่องเที่ยวในจังหวัดจันทบุรีมากยิ่งขึ้น","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":" ","tambon":"","ampher":"","province":"จันทบุรี ","zipcode":"","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"WeluChanthaburi","bg_lang":"th","pic":"2023-08-10_00-02-57_PA301330.JPG","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/WeluChanthaburi\/pic\/profile_upload\/2023-08-10_00-02-57_PA301330.JPG","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-08-20 08:27:32"},{"museum_code":"89","museum_name":"มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี","description":"มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":" 2 ถนน ราชธานี","tambon":"340101","ampher":"312","province":"อุบลราชธานี ","zipcode":"4000","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"Ubontourism","bg_lang":"th","pic":"2021-04-29_22-42-13_maxresdefault.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/Ubontourism\/pic\/profile_upload\/2021-04-29_22-42-13_maxresdefault.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-22 09:15:52"},{"museum_code":"90","museum_name":"มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี","description":"มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"111 ถนน มหาวิทยาลัย","tambon":"สุรนารี","ampher":"ปักธงชัย","province":"นครราชสีมา ","zipcode":"","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"santi_plant","bg_lang":"th","pic":"2021-12-25_22-50-59_T1024063.JPG","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/santi_plant\/pic\/profile_upload\/2021-12-25_22-50-59_T1024063.JPG","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-02-23 03:26:52"},{"museum_code":"91","museum_name":"KK2CH2PB","description":"โครงการจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของเมืองหลักจังหวัดขอนแก่น เมืองรองจังหวัดชัยภูมิและเพชรบูรณ์","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"123 หมู่ 16 ถ.มิตรภาพ","tambon":"ในเมือง","ampher":"เมือง","province":"ขอนแก่น ","zipcode":"40002","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"KK2CH2PB","bg_lang":"th","pic":"2021-02-01_08-39-26_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/KK2CH2PB\/pic\/profile_upload\/2021-02-01_08-39-26_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2023-02-23 03:08:01"},{"museum_code":"92","museum_name":"คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย","description":"คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"80 หมู่ 9 ถ.พหลโยธิน","tambon":"บ้านดู่","ampher":"เมือง","province":"เชียงราย ","zipcode":"57100","tel":"0-9185-3693-6","email":"","website":"","bg_path":"AkhaPhamee","bg_lang":"th","pic":"2021-02-12_15-37-51_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/AkhaPhamee\/pic\/profile_upload\/2021-02-12_15-37-51_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-02-20 07:16:06"},{"museum_code":"93","museum_name":"หออัตลักษณ์นครน่าน วิทยาลัยชุมชนน่าน","description":"หออัตลักษณ์นครน่าน วิทยาลัยชุมชนน่าน","open_date":"","latitude":"18.7581","longitude":"100.761","address":"10 หมู่ 5 ถนนยันตรกิจโกศล","tambon":"ดู่ใต้","ampher":"เมือง","province":"น่าน ","zipcode":"55000","tel":"054719038","email":"","website":" Nakorn Nan Identity Hallhttps:\/\/identitynan.com","bg_path":"identitynan","bg_lang":"th","pic":"2021-07-20_09-26-01_65121.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/identitynan\/pic\/profile_upload\/2021-07-20_09-26-01_65121.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"65121.jpg","bg_watermarkshow":"1","updated_at":"2021-07-20 09:30:37"},{"museum_code":"94","museum_name":"มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง","description":"มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"-","tambon":"ท่าตุ้ม","ampher":"ป่าซาง","province":"ลำพูน ","zipcode":"51120","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"tatum","bg_lang":"th","pic":"2021-03-05_12-39-11_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/tatum\/pic\/profile_upload\/2021-03-05_12-39-11_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-07-22 02:33:58"},{"museum_code":"95","museum_name":"สำนักงานศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่","description":"พิพิธภัณฑ์ใบลาน","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"202 ถ.ช้างเผือก","tambon":"ช้างเผือก","ampher":"เมือง","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"50300","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"bailanmuseum","bg_lang":"th","pic":"2021-03-05_13-34-55_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/bailanmuseum\/pic\/profile_upload\/2021-03-05_13-34-55_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-03-05 01:56:16"},{"museum_code":"96","museum_name":"สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน)","description":"จดหมายเหตุดาราศาสตร์","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"260 หมู่ 4","tambon":"ดอนแก้ว","ampher":"แม่ริม","province":"เชียงใหม่ ","zipcode":"50180","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"naru","bg_lang":"th","pic":"2021-03-05_14-57-32_blank.jpg","thumbnail":"https:\/\/www.navanurak.in.th\/naru\/pic\/profile_upload\/2021-03-05_14-57-32_blank.jpg","bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-04-23 08:43:22"},{"museum_code":"97","museum_name":"พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์พื้นพิภพ","description":"ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"50","tambon":"ลาดยาว","ampher":"จตุจักร","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10900","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"ESCIKU","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-07-22 01:26:04"},{"museum_code":"98","museum_name":"ภาควิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์","description":"พิพิธภัณฑ์จีโนมและสัตว์ป่า","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"50","tambon":"ลาดยาว","ampher":"จตุจักร","province":"กรุงเทพมหานคร ","zipcode":"10900","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"GENSCIKU","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2023-08-23 08:00:41"},{"museum_code":"99","museum_name":"สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา","description":"สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา","open_date":"","latitude":"0","longitude":"0","address":"202 หมู่ที่ 17","tambon":"พิชัย","ampher":"เมืองลำปาง","province":"ลำปาง ","zipcode":"52000","tel":"","email":"","website":"","bg_path":"lartc_rspg","bg_lang":"th","pic":null,"thumbnail":null,"bg_picshow":"1","bg_watermark":"blank.jpg","bg_watermarkshow":"0","updated_at":"2021-07-22 12:39:59"}]