อีดอ้อย

ทำจากไม้แกะเป็นเฟื่องสำหรับบีบท่อนอ้อย และมีก้านไม้เพื่อทำให้แกนเคลื่อนไหวได้ โดยใช้แรงงานคนหรือสัตว์เลี้ยงหมุน เพื่อบีบให้น้ำอ้อยไหลออกมาแล้วนำน้ำอ้อยไปใช้ประโยชน์ ซึ่งในสมัยโบราณยังไม่มีโรงงานน้ำตาล ชาวบ้านที่ต้องการน้ำตาลหรือน้ำอ้อยต้องใช้โฮงหีบอ้อยนีบให้น้ำอ้อยไหลไปตามรางไม้ แล้วนำน้ำอ้อยไปต้ม และเคี่ยวจนเหนืยวข้น แล้วปันให้เป็นก้อนเพื่อให้เก็บไว้ใช้ได้นาน

ขนาด

กว้าง 44 เซนติเมตร ยาว 126.5 เซนติเมตร

ชื่อเจ้าของ

สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง