พร-01-04-254-00


ชื่อ บาลี กถาวัตถุ (มัดต้น) มีจำนวน 10 ผูก สร้างปีจุลศักราช 1204 ตรงกับ พ.ศ. 2385 สร้างที่ เมืองแพร่ ผู้สร้างไม่ปรากฏ อยู่หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็น อักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าพิมพ์ด้ายลายดอก ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับล่องรัก ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :สีทอง สลักลายหัว-ท้าย ไม้ประกับ : ทาสีรักทึบ


พร-01-04-012-00


ชื่อ บาลี กถาวัตถุ มีจำนวน 12 ผูก สร้างปีจุลศักราช 1198 ตรงกับ พ.ศ. 2379 สร้างที่ เมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว ผู้สร้างคือครูบามหาเถร,ศิษย์,เจ้าเมืองแพร่ ร่วมกับ ราชวงศ์หลวงพระบาง อยู่หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็น อักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าพิมพ์ด้ายลายดอก ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับล่องรัก ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :สีทอง สลักลายหัว-ท้าย ไม้ประกับ : ทาสีรักทึบ


พร-01-04-019-00


ชื่อ บาลี วิภังค์ มีจำนวน 12 ผูก สร้างปีจุลศักราช 1198 ตรงกับ พ.ศ. 2379 สร้างที่ เมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว ผู้สร้างคือครูบามหาเถร,ศิษย์,เจ้าเมืองแพร่ ร่วมกับ ราชวงศ์หลวงพระบาง อยู่หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็น อักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าพิมพ์ด้ายลายดอก ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับล่องรัก ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :สีทอง สลักลายหัว-ท้าย ไม้ประกับ : ทาสีรักทึบ


พร-01-04-158-01ถึง05


มี 5 เรื่อง เรื่องที่ 1 ชื่อ บาลีอัตถนิบาต มีจำนวน 3 ผูก เรื่องที่ 2 ชื่อ บาลีนวนิบาต มีจำนวน 3 ผูก เรื่องที่ 3 ชื่อ บาลีทะสะนิบาต มีจำนวน 4 ผูก เรื่องที่ 4 ชื่อ บาลีเอกทะสะนิบาต มีจำนวน 3 ผูก เรื่องที่ 5 ชื่อ ทะวาทะสะนิบาต มีจำนวน 3 ผูก ทั้ง 5 เรื่อง สร้างปีจุลศักราช 1195 ตรงกับ พ.ศ. 2376 สร้างที่ เมืองน่าน ผู้สร้าง ครูบามหาเถร , ศิษย์ ,เจ้าเมืองแพร่, เจ้าเมืองน่าน อยู่หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็น อักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าพิมพ์ด้ายลายดอก ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับล่องชาด ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :สีทอง สลักลายหัว-ท้าย ไม้ประกับ : ทาสีรักทึบ


พร-01-04-125-00


ชื่อ บาลี ฉักกนิบาต อังคุตตรนิกาย มีจำนวน 7 ผูก สร้างปีจุลศักราช 1202 ตรงกับ พ.ศ. 2383 สร้างที่ เมืองเถิน (ลำปาง) ผู้สร้างคือหนานคำลาว บ้านนา, ชะละน ภิกขุ อยู่หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็น อักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าฝ้ายธรรมชาติ ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับล่องชาด ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :ไม่ปรากฏ ไม้ประกับ : ไม้สักธรรมดา


พร-01-04-203-01ถึง02


มี 2 เรื่อง เรื่องที่ 1 ชื่อ บาลีเอกนิบาตอังคุตตรนิกาย มีจำนวน 2 ผูก เรื่องที่ 2 ชื่อ บาลีอัตถาเอกนิบาตอังคุตตรนิกาย มีจำนวน 13 ผูก ทั้ง 2 เรื่อง สร้างปีจุลศักราช 1195 ตรงกับ พ.ศ. 2376 สร้างที่ เมืองน่าน ผู้สร้าง ครูบามหาเถร , ศิษย์ ,เจ้าเมืองแพร่, เจ้าเมืองน่าน อยู่หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็น อักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าพิมพ์ด้ายลายคั่น ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับล่องชาด ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :สีทอง สลักลายหัว-ท้าย ไม้ประกับ : ทาสีรักทึบ


พร-01-04-208-01 ถึง 02


มี 2 เรื่อง เรื่องที่ 1 ชื่อ บาลี เอกนิบาต อังคุตตรนิกายย มีจำนวน 1 ผูก เรื่องที่ 2 ชื่อ บาลีอัฎฐเอกนิบาตอังคุตตรนิกาย มีจำนวน 10 ผูก ทั้ง 2 เรื่อง สร้างปีจุลศักราช 1204 ตรงกับ พ.ศ. 2385 สร้างที่ เมืองแพร่ ผู้สร้างไม่ปรากฏ อยู่หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็น อักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าพิมพ์ด้ายลายดอก ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับทองทึบ ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :สีทอง สลักลายหัว-ท้าย ไม้ประกับ : ทาสีทองทึบ


พร-01-04-105-00


ชื่อ ปาฏิกวรรค บาลี ทีฆนิกาย มีจำนวน 11 ผูก สร้างปีจุลศักราช 1198 ตรงกับ พ.ศ. 2379 สร้างที่ เมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว ผู้สร้างคือครูบามหาเถร,ศิษย์,เจ้าเมืองแพร่ ร่วมกับ ราชวงศ์หลวงพระบาง อยู่หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็น อักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าพิมพ์ด้ายลายดอก ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับล่องรัก ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :สีทอง สลักลายหัว-ท้าย ไม้ประกับ : ทาสีรักทึบ


พร-01-04-048-00


ชื่อ บาลี มหาวรรค ทีฆนิกาย มีจำนวน 12 ผูก สร้างปีจุลศักราช 1198 ตรงกับ พ.ศ. 2379 สร้างที่ เมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว ผู้สร้างคือครูบามหาเถร,ศิษย์,เจ้าเมืองแพร่ ร่วมกับ ราชวงศ์หลวงพระบาง อยู่หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็น อักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าพิมพ์ด้ายลายดอก ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับล่องรัก ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :สีทอง สลักลายหัว-ท้าย ไม้ประกับ : ทาสีรักทึบ


พร-01-04-106-00


ชื่อ ปาฏิกวรรค บาลี ทีฆนิกาย มีจำนวน 14 ผูก สร้างปีจุลศักราช 1198 ตรงกับ พ.ศ. 2379 สร้างที่ เมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว ผู้สร้างคือครูบามหาเถร,ศิษย์,เจ้าเมืองแพร่ ร่วมกับ ราชวงศ์หลวงพระบาง อยู่หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็น อักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าพิมพ์ด้ายลายดอก ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับล่องรัก ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :สีทอง สลักลายหัว-ท้าย ไม้ประกับ : ทาสีรักทึบ


พร-01-04-133-00


ชื่อ สีลขันธวรรค บาลี ทีฆนิกาย มีจำนวน 11 ผูก สร้างปีจุลศักราช 1198 ตรงกับ พ.ศ. 2379 สร้างที่ เมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว ผู้สร้างคือครูบามหาเถร,ศิษย์,เจ้าเมืองแพร่ ร่วมกับ ราชวงศ์หลวงพระบาง อยู่หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็น อักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าพิมพ์ด้ายลายดอก ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับล่องชาด ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :สีทอง สลักลายหัว-ท้าย ไม้ประกับ : ทาสีรักทึบ


พร-01-04-202-00


ชื่อ บาลี ปาจิตติ มีจำนวน 12 ผูก สร้างปีจุลศักราช 1184 ตรงกับ พ.ศ. 2365 สร้างที่ เมืองแพร่-วัดศรีชุม ผู้สร้างคือ ครูบามหาเถร และ ปาวะลัสภิกขุ อยู่หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็น อักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าพิมพ์ด้ายลายดอก ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับล่องชาด ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :สีชาด เรือสำเภา ไม้ประกับ : ทาสีชาดด้านใน ลงสีรักด้านนอก


พร-01-04-119-00


ชื่อ บาลี มหาวัคฺค (มัดต้น) มีจำนวน 9 ผูก สร้างปีจุลศักราช 1183 ตรงกับ พ.ศ. 2364 ไม่ปรากฏสถานและผู้สร้าง อยู่หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็น อักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าพิมพ์ด้ายลายขจิต ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับล่องชาด ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :สีทอง ด้ามพัด ไม้ประกับ : ทาสีชาด(แดง)ทึบ


พร-01-04-190-00


ชื่อ บาลี วินยสงฺคห (มัดปลาย) มีจำนวน 12 ผูก สร้างปีจุลศักราช 1195 ตรงกับ พ.ศ. 2379 สร้างที่ เมืองน่าน ผู้สร้างคือ ครูบามหาเถร , ศิษย์ ,เจ้าเมืองแพร่, เจ้าเมืองน่าน อยู่หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็น อักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าพิมพ์ด้ายลายดอก ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับล่องชาด ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :สีทอง สลักลายหัว-ท้าย ไม้ประกับ : ทาสีรักทึบ


พร-01-04-075-00


ชื่อ บาลี วินยสงฺคห (มัดต้น) มีจำนวน 11 ผูก สร้างปีจุลศักราช 1198 ตรงกับ พ.ศ. 2379 สร้างที่ เมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว ผู้สร้างคือครูบามหาเถร,ศิษย์,เจ้าเมืองแพร่ ร่วมกับ ราชวงศ์หลวงพระบาง อยู่หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็น อักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าพิมพ์ด้ายลายดอก ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับล่องรัก ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :สีทอง สลักลายหัว-ท้าย ไม้ประกับ : ทาสีรักทึบ


พร-01-04-228-00


ชื่อ บาลี ปาราชิกา มีจำนวน 12 ผูก วันเดือนปีสร้าง ไม่ปรากฏ อยู่หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็น อักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าพิมพ์ด้ายลาขจิต ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับล่องชาด ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :สีชาด(แดง) สลักลายหัว-ท้าย ไม้ประกับ : ไมัสักธรรมดา


บาลีปาราชิก (9 ผูก มปป.)


บาลีปาราชิก จำนวน 9 ผูก ไม่ปรากฏวันเดือนปีสร้าง หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็นอักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าพิมพ์ด้ายลายดอก ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับล่องรัก ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :สีทอง สลักลายหัว-ท้าย ไม้ประกับ : ทารักทึบ


พร-01-04-243-00


ชื่อ บาลี ปริวาร มีจำนวน 16 ผูก สร้างปีจุลศักราช 1185 ตรงกับ พ.ศ. 2366 ไม่ปรากฏผู้สร้าง อยู่หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็น อักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าฝ้ายไม่มีลาย ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับล่องชาด ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :ล่องทอง เรือสำเภา ไม้ประกับ : ทารักทึบ


พร-01-04-153-00


ชื่อ บาลีปาจิตตี มีจำนวน 11 ผูก สร้างปีจุลศักราช 1186 ตรงกับ พ.ศ. 2367 ไม่ปรากฏผู้สร้าง อยู่หมวด คัมภีร์ภาษาบาลี บันทึกเป็น อักษรธัมม์ล้านนา ผ้าห่อคัมภีร์ : ผ้าพิมพ์ด้ายลายดอก ห่อด้วยเชือก ๔ เปลาะ ๆ ละ ๔ รอบ คัมภีร์ใบลาน : ฉบับลานดิบ ไม้ปั๋นจั๊ก(ไม้ฉลาก) :สีทอง สลักลายหัว-ท้าย ไม้ประกับ : ไมัสักธรรมดา


ใบลานรับเสด็จฯ


ปริวรรตจากอักษรล้านนาเป็นอักษรไทย สรี๋สสวัสดีมังคละวุฒิสิริสุภะมัสสะตุ จุลศักราชได้ 1376 ตัวปีก่าไส้ เดือน 6 ออก 10 ค่ำพร่ำว่าเม็งวัน อังคาร ไทยวันร่วงไส้ในกาละนั้นหมายมีราชศรัทธา สมเด็จพระเทพรัตราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ได้มีราชศรัทธา เสด็จมาไหว้สา สักการะปู่จาพระธรรมคัมภีร์โบลานล้านนาอันครูบากัญจนมหาเถรอรัญญะวาสีได้ริสสนา และ สร้างรอมไว้ในหอพระธรรมปิฎกวัดสุ่งเหม้นเมืองแพ่แห่งนี้..... ปริวรรตจากภาษาล้านนาเป็นภาษาไทย สรี๋สสวัสดีมังคละวุฒิสิริสุภะมัสสะตุ พุทธศักราชได้ 2557 ปีมะเส็ง ตรงกับวันที่ 11 เดือน มีนาคม ขึ้น 11 ค่ำ วัน อังคาร มีราชศรัทธา สมเด็จพระเทพรัตราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ได้มีราชศรัทธา เสด็จมาทรงสักการะบูชาพระธรรมคัมภีร์โบลานล้านนาอันครูบากัญจนมหาเถรอรัญญะวาสีได้ริสสนา(จาร หรือ เขียน) และ สร้าง รวบรวมไว้ในหอพระธรรมปิฎกวัดสูงเม่น เมืองแพร่แห่งนี้.....


ศิลาจารึกสร้างธัมม์เมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว ด้านหน้า


จุลศักราชได้ ๑๑๙๘ ตัวปีรวายสัน ยังมีพระมหาเถรเจ้า ต๋นชื่อว่า กัญจนอรัญญะวาสีแต่เมืองแพรยวนหนปัจฉิมทิศ เข้ามาถึงเมืองหลวงพระบางล้านช้างที่นี้ แล้วก็ได้นำเอาหน้าบุญขึ้นถึงเจ้าเมืองหลวงพระบาง ต๋นชื่อว่ามังธา เป็นเก๊า และราชวงศ์เมืองหลวงพระบางเป็นประธานพร้องกันสร้างยังอักขรธรรมคัมภร์ไตรปิฎกทั้งมวล ไว้โชฏะกะพุทธศาสนา ๕ พันพระวัสสาแล ได้ฉลองในเดือน ๔ เป็งเม็งวันอังคารไทย ก่าใครจึงแล้วบรมวล วันนั้นแลสันรอมธรรมทั้งมวลอันได้สร้างนี้เป็นธรรม อันได้สร้างนี้เป็นธรรม ๒ ร้อยปลาย ๔ สิบ ๒ มัดจัดเป็นผูกได้ ๒ พันปลาย ๘ ร้อยปลายซาว ๕ ผูก จัดเป็นเงินค่าจ้างแต้มเขียน สมเด็จพระเป็นเจ้าเมืองหลวงพระบาง มีเงิน ๘๕ ตั้ง เงินเจ้าราชวงศ์มีเงินลางหนัก หมื่น ๘ พันปลาย ๒ ร้อย ปลาย ๑ บาทปลายเจ็ดก่าปลาย ๒ แดง เงินฝ่ายศรัทธาทางเมืองแพร มีเงินชั่ง ๑๐ ตำลึงปลาย ๑๐ สลึง แต่คำปิ๋วพอกธรรมเสี้ยงหมื่นปลาย ๒ พันปลาย ๘ ร้อยแผ่นแล ธรรมเจ้าเมืองสร้างเป็นธรรม ๓ สิบ ๔ มัด ธรรมราชวงศ์สร้างเป็นธรรมร้อยปลายเจ็ดสิบเจ็ดมัด ธรรมศรัทธาเมืองแพรสร้างเป็นธรรมสามสิบเอ็ดมัดแล กันว่าฉลองแล้วพระมหาเถระเจ้าก็ยกเอาพระสัทธรรมเจ้าทั้งมวลอันได้สร้างทั้ง ๒ ร้อย ๔ สิบ ๒ มัดเมือ ฐะปันนะ ตั้งไว้โชฏะกะ พุทธศาสนา ในเมืองแพรยวนหนปัจฉิมที่ทิศวันนั้นแล.....


ศิลาจารึกสร้างธัมม์เมืองน่าน


จุลศักราชได้ ๑๑๙๕ ตัวปีก่าไส้ ยังมีพระมหาเถรเจ้าต๋นนึ่งชื่อ กัญจนอรัญญวาสีเมืองแพรเป็นเก๊า และสิสสะเจ้าทั้งมวลจรเดินเทศมาแต่เมืองแพร หนปัจฉิมทิสสะเข้ามาถึงเมืองน่านที่นี้แล้ว จึงได้นำเอานาบุญขึ้นถึงศรัทธาปายในปายนอกทั้งมวล ศรัทธาปายในมีพระสังฆะเจ้าอันอยู่เมืองน่านที่นี้ ศรัทธาปายนอกมีเจ้าเมืองน่านที่นี้เป็นเก๊าและ อุปราชาราชวงศ์เจ้านายทั้งมวลพร้อมกันสร้างยังอักขระธรรมคัมภีร์ไตรปิฎกทั้งมวลไว้โชฏะกะ พุทธศาสนา ๕ พันพระวัสสาแล สังรอมธรรมทั้งมวลอันด้สร้างนี้เป็นธรรมร้อยปลาย ๔ สิ ๒ มัดจัดเป็นผูกได้พันปลาย ๖ ร้อยปลาย ๓ ผูกแล ได้ฉลองแต่เมื่อ จุลศักราชได้ ๑๑๙๙ ตัวปีเมืองเร้า เดือนเก้าเป็ง เม็งวันอาทิตย์ไทย เท่าสี่วันนั้นแล กันว่าฉลองแล้ว พระมหาเถรเจ้าก็ยกเอาพระสัทธรรมเจ้าเมือตั้งไว้ โชฏะกะพุทธศาสนาในเมืองแพร ปัจฉิมทิศวันนั้นแล พระมหาเถรเจ้าก็ปิกมาในปีกัดเร้า อายุได้ ๕๙ ปี จึงได้ฉลองธรรมนี้แล